ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะหลักในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม, สมรรถนะหลัก , การบริหารการศึกษาบทคัดย่อ
การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 2) ศึกษาสมรรถนะหลักในการทำงานของครู และ 3) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะหลักในการทำงานของครู กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครู จำนวน 312 คน สุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา จากนั้นจึงสุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ และแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และและค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า
1) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะหลักในการทำงานของครู โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) สมรรถนะหลักในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะหลักในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 มี 3 ตัวแปร ได้แก่ ด้านความซื่อสัตย์ (X4) ด้านความเคารพ (X3) และ ด้านความรับผิดชอบ (X5) สามารถเขียนสมการพยากรณ์ได้ดังนี้
= .841 + .447 (X4) + .232 (X3) + .145 (X5) = .517 (X4) + .262 (X3) + .171 (X5)
References
กฤษณา เหลืองทอง. (2556). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลเมืองพะเยา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยพะเยา.
ไกรศร รักสงวน. (2559). ภาวะผู้นําเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดําเนินงาน โรงเรียนวิถีพุทธ ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
คำพร กองเตย. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชญานุช วีรสาร. (2556). ความซื่อสัตย์คือสมบัติของผู้พยุงความยุติธรรม. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2565 จาก https://mgronline.com/daily/detail/9560000011711.
ชีวิน อ่อนละออ, สุชาติ บางวิเศษ, กานนท์ แสนเภา และสุชาวดี บางวิเศษ. (2564). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิง
จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย. วารสาร
วิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 11(4),92-101.
ณรงค์ นรากร. (2555). การศึกษาพฤติกรรมจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
ดวงทิพา พุ่มไม้. (2557). การศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสุโขทัย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
เตือนใจ สุนุกุล. (2562). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพมหานคร: วี อินเตอร์ พริ้น.
นคร เสรีรักษ์ และภรณี ดีราษฎร์วิเศษ. (2555). วิจัยไม่ใช่เรื่องยาก. กรุงเทพมหานคร : สามลดา.
เนาวรัตน์ รอดเพียน. (2562). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานบุคลากรของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
บุปผา บุญสมสุข. (2561). คุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมือง พื้นฐานสำคัญของจริยธรรมนักสื่อสารมวลชน. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2565 จาก https://www.presscouncil.or.th/ethics/4235.
ปราณี วงค์จันทร์. (2554). การบริหารงานวินัยของผู้บริหารในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
พรวิภา สวนมะลิ. (2564). การศึกษาสมรรถนะหลักของครูในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร. Journal of Roi Kaensarn Academ, 7(75),106-116.
พิชัย โสวจัสสตากุล. (2557). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของนายกเทศมนตรีกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน เทศบาลตำบลนาป่า อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.
สลิลทิพ ชูชาติ. (2556). พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผูบริหารในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากําแพงเพชร. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คู่มือประเมินสมรรถนะครู (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2548). คู่มือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง.
สิริถาวร ดิศรพงศ์. (2554). พฤติกรรมทางจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนคติขงข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สุนันท์ ธีระโรจนารัตน์. (2554). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับปฐมวัยตามความคิดเห็นของครูและผู้ปกครองในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
สุธี บูรณะแพทย์.(2557). สมรรถนะของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
อรอุมา รุ่งเรืองวณิชกุล. (2556). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูนักวิจัยด้วยการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้ สำหรับข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อัญชสา ธนากิตติเจริญ. (2552). ศึกษาพฤติกรรมด้านจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1. ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารทัศนมิติทางการศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.