ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ครีมกันแดดบนสื่อออนไลน์ของผู้พักอาศัยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม
คำสำคัญ:
ครีมกันแดด, สื่อออนไลน์, แบบจำลองโลจิทบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ครีมกันแดดบนสื่อออนไลน์ของผู้ที่พักอาศัยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จำนวน 400 คน โดยใช้การวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองโลจิท (Logit Model) จากการศึกษา พบว่าปัจจัยด้าน เพศ อาชีพ รายได้ การแสวงหาข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับการเลือกซื้อครีมกันแดด เครื่องหมายรับรองคุณภาพ และเครื่องหมายอื่นๆ ปัจจัยด้านคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ และช่องทางการจัดจำหน่าย ล้วนมีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อครีมกันแดดบนสื่อออนไลน์อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติ
References
กรมการปกครอง. (2561). รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้านประจำปี พ.ศ.2561. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2562, จาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/views/showDistrictData.php?rcode=50&statType=1&year=61.
กฤษฏา มั่นคง. (2558). ส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้อครีมกันแดดยี่ห้อนีเวียของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
นันทวัลย์ มิตรประทาน. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อครีมบำรุงผิวกายเพื่อป้องกันแสงแดดของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย-ศรีนครินทรวิโรฒ.
พิมพ์ชนก พ่วงกระแสร์. (2553). การสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อครีมกันแดดของนักศึกษาคณะอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตไกลกังวล (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.
เมธ์วดี ประวัติเรืองศรี. (2557). กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้หญิงเจนเนอร์เรชั่นวายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อเครื่องสำอางบำรุงผิวหน้าจากประเทศอเมริกาและยุโรป (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2543). สถิติโรคมะเร็ง. สืบค้น 22 เมษายน 2562, จาก https://www.nci.go.th/th/cancer_record/cancer_rec1.html.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2551). แพทย์แนะคนไทยตื่นตัวดูแลสุขภาพ รับมือภาวะโลกร้อน ชี้โรคผิวหนังจาดแดดน่าห่วง. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2562, จาก http://elib.fda.moph.go.th/library/default.asp?page2=subdetail&id=18542.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). รายได้ประชาชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2562, จาก https://www.nesdb.go.th/ main.php?filename=ni_page.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2561). ETDA เผยมูลค่า e-Commerce ไทยโตต่อเนื่อง ยอดปี 2561 พุ่งสูง 3.2 ล้านล้านบาท. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2562, จาก https://www.etda.or.th/content/etda-เผย-อีคอมเมิร์ซ-ไทย-โตต่อเนื่อง-2561-3-2-ล้านล้านบาท.html
อรวรรณ วิเลิศศักดิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อนักศึกษาระดับปริญญาตรีในจังหวัดเชียงใหม่ในการซื้อเครื่องสำอางออนไลน์ (การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Yamane, T. (1973). Statistics an introductory analysis. 2nd ed.. New York Harper & Row. Agritourism and ecotourism. Stellenbosch, South Africa: University of Stellenbosch.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.