การศึกษาข้อผิดพลาดการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต แขนงหลักสูตรและการสอน เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Main Article Content

ศิตา เยี่ยมขันติถาวร
รศ.ดร.จรีลักษณ์ รัตนาพันธ์

บทคัดย่อ

แผนการสอนเป็นสิ่งที่จำเป็นมากสำหรับครูผู้สอนทุกระดับ โดยทั่วไปแผนการสอนประกอบด้วยวัตถุประสงค์ เนื้อหา การปฏิบัติในห้องเรียน การวัดประเมินผลตาม วัตถุประสงค์การเรียนรู้ และการสะท้อนความรู้หลังการเรียนการสอน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อผิดพลาดในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต แขนงหลักสูตรและการสอน เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2565 ภาคการศึกษาปลาย ที่ลงทะเบียนชุดวิชา 20596 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เอกภาษาอังกฤษ จำนวน 10 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการแบบประเมินแผนจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินแผนจัดการเรียนรู้ จากการศึกษาพบว่า ข้อผิดพลาดการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตประกอบด้วย 1) จุดประสงค์การเรียนรู้ 2) การกำหนดสาระสำคัญ/เนื้อหาสาระ การเขียนขั้นตอนการสอน 3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4) สื่อและแหล่งเรียนรู้ 5)  การวัดและประเมินผล

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ศิตา เยี่ยมขันติถาวร, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  

รศ.ดร.จรีลักษณ์ รัตนาพันธ์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2562). การจัดการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เบญจวรรณ พงศ์มัฆวาน. (2544). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดเจ็ดยอด อำเภอเชียงใหม่.

[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปาริชาติ แผงบุดดา. (2553). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความโดยใช้ชุดการสอนนิทานพื้นบ้าน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข. (2561). การเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังกับ PLC เพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชรพล วิบูลยศริน. (2561). วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2556). ศาสตร์การนิเทศการสอน และการโค้ช การพัฒนาวิชาชีพ :ทฤษฎีกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 12). นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต พระราชวังสนามจันทร์นครปฐม.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2543). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์วัฒนาพานิช.

วิไล ตั้งจิตสมคิด. (2544). การศึกษาและความเป็นครูไทย.กรุงเทพมหานคร: โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮาส์.

ศิตา เยี่ยมขันติถาวร และ วรรณประภา สุขสวัสดิ์. (2566). การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ). เอกสารประมวลสาระชุดวิชา 20512. หน่วยที่ 5. นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. (2563) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน ฉบับปรับปรุง 2563. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุมาลี เชื้อชัย. (2551). การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมการเรียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยการสังเกตผ่านเครือข่ายสําหรับนิสิตนักศึกษาคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิทย์ มูลคํา และคณะ. (2549). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2553). หลักการสอน (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

อุบลวรรณ ส่งเสริม. (2555). การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้สําหรับนักศึกษาครู. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 9(2) ,115-127.

Farrell, T. S. C. (2002). Lesson planning and classroom management, in Richards, J.C. & Renandya, W. A. (Eds.), Methodology in language teaching: an Anthropology of current practice. Cambridge: Cambridge University Press.

Jones, J. L., Jones, K. A., & Vermette, P. J. (2011). Planning Learning Experiences in the Inclusive Classroom: Implementing the Three Core UDL Principles to Motivate, Challenge and Engage All Learners. Electronic Journal for Inclusive Education, 2 (7).

Nesari, A. J. & Heidari, M. (2014). The important role of lesson on education achievement of Iranian EFL teacher’ attitudes. International Journal of Foreign Language Teaching & Research, 3(5), 25-31.