การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้องถิ่นศึกษาด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และวิธีการทางประวัติศาสตร์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้องถิ่นศึกษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้องถิ่นศึกษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้องถิ่นศึกษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี สาขาวิชาสังคมศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 40 คน โดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วสุ่มอย่างง่ายอีกครั้งหนึ่ง โดยวิธีการจับฉลากเป็นกลุ่มทดลองที่ 1 ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และกลุ่มทดลองที่ 2 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E แผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์และ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีทางสถิติ t-test แบบ Dependent
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้องถิ่นศึกษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 01
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้องถิ่นศึกษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ 01
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้องถิ่นศึกษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E และวิธีการทางประวัติศาสตร์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ 01
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้รายใดก็ตามที่จะอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังข้อความทั้งหมดของบทความ รวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใด แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อประโยชน์ทางธุรกิจใดๆ เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า (Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
จุฬาพร ศรีรังสรรค์. (2564). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาท้องถิ่นศึกษา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
เฉลิม มลิลา. (2559). เทคนิควิธีการสอนประวัติศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 6). ไทยวัฒนาพานิช.
ชาตรี เกิดธรรม. (2545). เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
ธิดา สาระยา. (2539). ศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไรและทำไม. (ธิดา สาระยา,ผู้แปล). ดวงกมล.
นุชนาท สิงหา. (2555). ผลการใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ร่วมกับเทคนิค การจัดแผนผังมโนทัศน์เรื่องไฟฟ้าเคมี ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ไพศาล เรียนทัพ. (2544). ผลของการสอนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องการตั้งถิ่นฐานที่มั่นคงของอาณาจักรไทยในรายวิชา ส 028 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนกำแพงเพชรวิทยาคมจังหวัดกำแพงเพชร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2551). การวัดผลและการสร้างแบบสอบ (พิมพ์ครั้งที่ 7). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมนึก ภัททิยธนี. (2558). การวัดผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 10). ประสานการพิมพ์.
สมบูรณ์ ชิตพงศ์. (2523). เทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนสังคมศึกษา. สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สมบัติ กาญจนารักพงค์ และคณะ. (2558). เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรแบบ 5 E ที่เน้นพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง : กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. ธารอักษร.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). แผนการศึกษาแห่งชาติ 2545 - 2559. พริกหวานกราฟิคจำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2561-2580) (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงาน.
อาร์ม โพธิ์พัฒน์. (2550). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเขียนผังมโนมติ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Ausubel, D. P. (1968). Educational psychology: A cognitive view. Holt, Rinehart and Winston, Inc.
Krathwohl, D. R. (2002). A Revision of Bloom’s Taxonomy: An Overview. Theory Into Practice, 41(4), 212–218. https://doi.org/10.1207/s15430421tip4104_2
Lawson, A. E. (1995). Science teaching and the development of thinking. Wadsworth.
Novak J.D.; & Gowin D.B. (1984). Leaning How to Learn. Cambridge University Press.