การศึกษาความต้องการการศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตพื้นที่นครชัยบุรินทร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
1) นักเรียนต้องการศึกษาต่อสาขาการสอนภาษาไทยมากที่สุด 12% สาขาการศึกษาปฐมวัย 11.40% และสาขาการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน และสาขาจิตวิทยาฯ 10.70%
2) ด้านลักษณะของหลักสูตรภาษาไทยที่ตอบสนองความต้องการของนักเรียนมีดังนี้ ยืดหยุ่นสอดคล้องกับความสามารถของนักศึกษา ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ตลอดชีวิต ทำงานร่วมกับบุคคลอื่น คิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ปรับตัวต่อสถานการณ์โลก ผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ทักษะการสื่อสาร บริหารชั้นเรียน ออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทักษะในศตวรรษที่ 21
3) ด้านรูปแบบการจัดการเรียนการสอนมีดังนี้ สอนแบบ Active Learning ฝึกทักษะการสื่อสาร จัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ผู้สอน ฝึกคิด วิเคราะห์และตีความ ส่งเสริมการคิดเชิงสร้างสรรค์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน วัดและประเมินผลที่หลากหลาย และปลูกฝังรักษ์ภาษาไทย
4) ด้านคุณลักษณะของนักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาไทยหลังสำเร็จการศึกษามีดังนี้ มีทักษะการสื่อสาร คิดวิเคราะห์และตีความ สร้างนวัตกรรมการศึกษา เข้าถึงแหล่งข้อมูล มีจรรยาบรรณวิชาชีพครู การทำงานเป็นทีม คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 และประกอบอาชีพอื่นได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้รายใดก็ตามที่จะอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังข้อความทั้งหมดของบทความ รวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใด แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อประโยชน์ทางธุรกิจใดๆ เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า (Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License
References
จินตวีร์ คล้ายสังข์ และคณะ. (2564). แนวทางการผลิตครูระดับอุดมศึกษาแบบพลิกโฉม : จากงานวิจัยสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 13(2), 1-20.
ทองวาท ราชชารี และคณะ. (2566). ความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเรียนรู้ (วิชาเอกปฐมวัยศึกษา และวิชาเอกดนตรีศึกษา) คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์, 7(2), 34-55.
ปรีดาภรณ์ กาญจนสำราญวงศ์ และคณะ. (2559). ความต้องการการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนรัฐบาล จังหวัดสงขลา. วารสารวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11(1), 75-90.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). เติบโตตามศักยภาพสู่ศตวรรษที่ 21 ของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.(ม.ป.ป.) ประวัติและความเป็นมา. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2565 จากhttps://www.vu.ac.th/
เรณุมาศ มาอุ่น. (2559). การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 9(2), 169-176.
วิไลลักษณ์ ลังกา. (2560). อนาคตภาพของคุณลักษณะครูไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2560-2569). วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 11(1), 36-50.
สำนักแผนยุทธศาสตร์และประกันคุณภาพ. (2562) . แผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลระยะ 20 ปี (ปีการศึกษา 2561-2580). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
สิตา ทายะติ และจุฑามาศ หนุนชาติ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาหารประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน: รวมบทความวิจัย บทความวิชาการ พ.ศ. 2561. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
อภิภา ปรัชญาพฤทธิ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพื่อรองรับการศึกษายุค 4.0. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. 35(3), 102-135.
Creswell, J. W., & Clark, V. L. P. (2017). Designing and conducting mixed methods research. Sage publications.