ปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 2

ผู้แต่ง

  • เกริกไกร แซ่เลี้ยว นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • กนกกร ศิริสุข คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

คำสำคัญ:

ปัจจัยการบริหาร , ประสิทธิผลของสถานศึกษา , ผู้บริหารสถานศึกษา

บทคัดย่อ

การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาประสิทธิผลของสถานศึกษา และ 3) ศึกษาปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จำนวน 327 คน สุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา จากนั้นจึงสุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลาก เครื่องมือที่เป็นแบบสอบถามตรวจสอบรายการ และแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .983 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า

1) ปัจจัยการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากและมากที่สุด 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากและมากที่สุด และ 3) การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 พบว่า ปัจจัยการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา ได้แก่ ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (X7) ปัจจัยด้านกระบวนการบริหาร ( X2)  ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ (X3)  และปัจจัยด้านโครงสร้างองค์กร (X1) สามารถเขียนสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนมาตรฐาน    = .272 (X7) + .245 (X2) -.228 (X3) + .141 (X1)

References

กรุณา ภู่มะลิ. (2556). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดเล็กในภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

กัมพล เกศสาลี. (2561). การรู้ดิจิทัลในการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(2), 503-514.

กิตติพร พรงาม. (2560). ภาวะผู้นำทางวิชาการที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ขวัญฤทัย ภู่สาระ (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

จุฑามาศ อิศระภิญโญ. (2562). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อผลสำเร็จของการทำวิจัยในชั้นเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

จักรพงษ์ วงศ์สุวรรณ. (2564). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ไทพนา ป้อมหิน. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยนครพนม.

ธีรพงศ์ อุปทุม. (2562). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการเรียนรู้ตามทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

นคร เสรีรักษ์ และภรณี ดีราษฎร์วิเศษ. (2555). วิจัยไม่ใช่เรื่องยาก. กรุงเทพมหานคร : สามลดา.

น้ำอ้อย สุนทรพฤกษ์. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษาดีประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

บัณฑิตาภรณ์ ศรีคำภา. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการบริหารกับการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.

ประยงค์ ศรีโทมี. (2561). ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ปัทมา ประทุมสุวรรณ. (2563). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

พรสวรรค์ สุขพรหม. (2564). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

ภารดี อนันต์นาวี. (2551). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มนตรี.

เมรินทกาล พัฒนทรัพย์พิศาล. (2560). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ยุทธศักดิ์ ไชยสีหา. (2556). ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อการบริหารโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐานของสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น. วารสารศึกษาศาสตร์, 7(1), 140-150.

ยุวดี ประทุม. (2559). ปัจจัยการบริหารทีส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยบูรพา.

ราชกิจจานุเบกษา. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (2560). เล่มที่ 135 ตอนที่ 40 ก.

ราตรี สอนดี. (2559). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฤทัยรัตน์ บุญอินทร์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิภาพร ยืนยง. (2560). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

วิรัตน์ พงษ์มิตร. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารของสถานศึกษาในสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: สำนักนายกรัฐมนตรี.

_______. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2554). คูมือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554-2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับสถานศึกษา พ.ศ. 2554. (อัดสําเนา).

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. (2565). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565. นครศรีธรรมราช : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

เสกสันต์ รอดย้อย. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต1. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 4(3), 25.

อมรรัตน์ อรุณเจริญ. (2559). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

อรอุมา ไมยวงค์. (2564). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.หาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

อิศรา โสทธิสงค์. (2564). ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 10 มกราคม 2566 จาก https://www.edusandbox.com/24th-sep-2021-sandbox-meetings/

Reid, Ken, Hopkins, David and Holly,Peter. (1998). Toward the Effective School. Oxford : Basic Blackwell Ltd.

Hoy, Wayne K. and Cecil G, Miskel. (2001). Educational Administration: Theory, Research and Practice. 6th ed.) Mc Graw–Hill.

Mott, P.E. (1972). The Characteristic of Effective Organization. New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-03