จากการศึกษาตลอดชีวิตถึงการศึกษาในระบบ : พื้นฐานในการพลิกโฉมการศึกษาไทย

ผู้แต่ง

  • รองศาสตราจารย์ ดร.วัน เดชพิชัย -

บทคัดย่อ

เพื่อให้การวิเคราะห์ปัญหาและการเสนอแนวทางการพลิกโฉมการศึกษาของประเทศไทยเป็นไปอย่างมีระบบ จึงขออธิบายเรื่องราวของ “การศึกษา” ที่เราใช้อยู่ 9 ประเด็น ดังต่อไปนี้ 1) การศึกษาคืออะไร 2) สถาบันการศึกษาตลอดชีวิตของบุคคลกับการพัฒนาประเทศ  3) ระบบการศึกษา 4) หลักการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ 5) ระดับของการศึกษาเชิงระบบ 6) ความสำคัญของการศึกษาในระบบ 7) การเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิตไป 8) สี่เสาหลักของการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ 9) แนวทางการพลิกโฉมการศึกษาไทย

References

ชวาล แพรัตกุล. (2552), เทคนิคการวัดผล (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ประเวศ วะสี. (2507). การศึกษาสร้างทุกข์มากกว่าสุข. ไทยรัฐ 30 กันยายน 2507, (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2566 จากhttps://www.thairath.co.th7

พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545, (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนที่ 57ก.

พระราชวรเมธี (ว.วชิรเมธี).(ม.ป.ป.). แนวโน้มการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของประเทศในประชาคมอาเซียน : การศึกษาเบื้องต้น. (ออนไลน์).ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2566. จาก https://www.asc.mcu.ac.th

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2560). แนะนำ มศว. (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 21 มีนาคม 2566. จาก https://www.swu.ac.th>intreducation.

วิดิพีเดีย, สารานุกรม (ภาษาไทย). ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด. ค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2566.

วิดิพีเดีย, สารานุกรม (ภาษาไทย). ประเทศกำลังพัฒนา. ค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2566.

วิดิพีเดีย, สารานุกรม (ภาษาไทย). ประเทศพัฒนาแล้ว. ค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2566.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). สี่เสาหลักของการเรียนรู้ สารานุกรมวิชาชีพครูเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. หน้า 511-515.

สมพร โกมารทัต (ม.ป.ป.). การสร้างคุณภาพคนด้วยการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น.(ออนไลน์). ค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จาก https://arts.dpu.ac.th>research.

อาทิตยา ไสยพร.(2565). สร้างระบบนิเวศการเรียนรู้สู่การพัฒนาผู้เรียนเป็น Lifelong Learning. (ออนไลน์). ค้นเมื่อ 2 เมษายน 2566. จาก https://www.education.com.

Casey, Leo. (2020). Thoughts on Learning, Teaching and Life. (online). Retrieved on March 21, 2023 from https://leocascy.com.

Cifuentes, J.A. and Olarte, F.A. (2020). A Macro Perspectives of the Perceptions of the Education System via Modelling Analysis. (online). Retrieved on April 1, 2023 from https://link.spinger.com > article.

Delors, Jacques. (1995). Learing: The Treasure within: Report to UNESCO of the International Commission on Education for the Twenty-first Century (Highlights), UNESCO, Digital Lifelong. (46 pp.).

Eduedify. (2022). Four Pillars of Learning and Their Examples. (online). Retrieved on 25 March 2023. from https://eduedify.com.

Joanne, Willard. (2022). The Learning Eco-system: What It Is, How to Build One, and Why. (online). Retrieved on April 1, 2023. from https://www.bigthink.com.

UNESCO, (ม.ป.ป.). What Is a Learning Eco-System, Institute for Lifelong Learning. (online). Retrieved on 22 March 2023. from https://uil.unesco.org>learning.

Yausuf, T. (2015). Exploring Macrolevel Educational Analytics to Improve Public Schools. (online). Retrieved on 25 March 2023. from https:// library.lated.org>view.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-30