การจัดการสมัยใหม่กับการดำเนินงานตามหลักการบริหารรัฐกิจ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอในมุมมองของการบริหารจัดการในภาครัฐ โดยบูรณาการความรู้จากหลาย ๆ ศาสตร์มาใช้ในการบริหารจัดการของภาครัฐ การบริหารจัดการในภาครัฐ จึงมีลักษณะเป็น สังคมศาสตร์ประยุกต์เพื่อให้นักบริหารสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้นักบริหาร สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างดี เช่น การวางแผน การบริหารคน การบริหารงาน ในการทำงานบนหลักของการบริหารงาน ที่สามารถลดทอนความซับซ้อนของขั้นตอนการทำงาน แต่เพิ่มประสิทธิภาพของการทำงาน หากมองในระบบราชการ ในรูปแบบเก่า เช่น ลักษณะการสร้างความร่วมมือ (Collaboration) การประสานงาน (Coordination) และการแข่งขัน (Competition) เป็นไปด้วยตอนที่ล่าช้า หากพัฒนาระบบให้เป็นไปในทิศทางการบริหารอย่างยั่งยืน แต่อาศัยหลักการบริหารร่วมกัน ตามหลักบริหารัฐกิจ ผู้เขียนนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับ 1) รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ 2) แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการ (Governance) 3) แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM)
Article Details
การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้รายใดก็ตามที่จะอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังข้อความทั้งหมดของบทความ รวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใด แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อประโยชน์ทางธุรกิจใดๆ เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า (Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License