การเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจต่อการเรียนของนักศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนรู้แบบ
สืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์พลังงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) บทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม จำนวน 4 บทเรียน 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนต่อการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ที-เทส ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.50/81.38 2) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับบทเรียนออนไลน์บนยูทูป เรื่องถ่านหินและปิโตรเลียม อยู่ในระดับมาก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
การอนุญาตให้ใช้ข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ของสิ่งพิมพ์ ผู้ใช้รายใดก็ตามที่จะอ่าน ดาวน์โหลด คัดลอก แจกจ่าย พิมพ์ ค้นหา หรือเชื่อมโยงไปยังข้อความทั้งหมดของบทความ รวบรวมข้อมูลสำหรับการจัดทำดัชนี ส่งต่อเป็นข้อมูลไปยังซอฟต์แวร์ หรือใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมายอื่นใด แต่ห้ามนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์หรือมีเจตนาเอื้อประโยชน์ทางธุรกิจใดๆ เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า (Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License
References
Bransford, J.D., Brown, A.L., & Cocking, R.R. (2000). How people learn. National Academy Press.
BSCS Science Learning (2019). BSCS 5E instructional model. Retrieved from: https://bscs.org/bscs-5e-instructional-model/
Bybee, R., Taylor, J., Gardner, A., Scotter, P., Powell, J., Westbrook, A., & Landes, N. (2006). The BSCS 5E instructional model: Origins, effectives, and applications. BSCS.
Bybee, R. W. (2009). The BSCS 5E instructional model and 21st Century Skills. BSCS.
Colburn, A. (2000). An inquiry primer. Science Scope, 23(6), 42-44.
Colburn, A. (2007). Constructivism and conceptual change, part II. The Science Teacher, 74(8), 14.
Duran, L. B., & Duran, E. (2004). The 5E instructional model: A learning cycle approach for inquiry-based science teaching. Science Education Review, 3(2), 49-58.
Keselman, A. (2003). Supporting inquiry learning by promoting normative understanding of multivariable causality. Journal of Research in Science Teaching, 40(9), 898-921.
Kong, S.C., & Song, Y. (2014). The impact of a principle-based pedagogical design on inquiry-based learning in a seamless learning environment in Hong Kong. Educational Technology & Society, 17(2), 127-141.
Koseoglu, F., & Tumay, H. (2010). The effects of learning cycle method in general chemistry laboratory on students’ conceptual change, attitude and perception. Journal of Kirsehir Education Faculty, 11(1), 279-295.
Likert, R. (1961). New pattern of management. McGraw–Hill.
Lord, Thomas R. (1999). A comparison between traditional and constructivist teaching in environmental science. Journal of Environmental Education, 30(3), 22-28.
Lord, T., & Orkwiszewski, T. (2006). Moving from didactic to inquiry-based instruction in a science laboratory. American Biology Teacher, 68(6), 342-345.
Marshall, S. P. (2009). Re-imagining specialized STEM academies: Igniting and nurturing decidedly different minds, by design. Roeper Review, 32(1), 48-60. https://doi.org/10.1080/02783190903386884
Miller, H., McNeak, K., & Herbert, B. (2010). Inquiry in the physical geology classroom: Supporting students’ conceptual model development. Journal of Geography in Higher Education, 34(4), 595-615.
Minner, D.D., Levy, A.J., & Century, J. (2009). Inquiry-based science instruction – What is it and does it matter?. Journal of Research in Science Teaching, 1-24.
National Research Council, (2000). Inquiry and the National Science Education Standards: A guide for teaching and learning. National Academies Press.
Pedaste, M., Mäeots, M., Leijen, A., & Sarapuu, T. (2012). Improving students’ inquiry skills through reflection and self-regulation scaffolds. Technology, Instruction, Cognition and Learning, 9(1-2), 81-95.
Sandoval, W.A., & Reiser, B.J. (2004). Explanation-driven inquiry: Integrating conceptual and epistemic scaffolds for scientific inquiry. Science Education, 88(3), 345-372. https://doi.org/10.1002/sce.10130
Secker, V.C. (2002). Effects of inquiry-based teacher practices on science excellence and equity. The Journal of Educational Research, 95(3), 151-160.
Varma, T., Volkmann, M., & Hanuscin, D. (2009). Preservice elementary teachers’ perceptions of their understanding of inquiry and inquiry-based science pedagogy: Influence of an elementary science education methods course and a science field experience. Journal of Elementary Science Education, 21(4), 1-22.
Wilder, M., & Shuttleworth, P. (2005). Cell inquiry: A 5E learning cycle lesson. Science Activities, 41(4), 37-43.
Wilke, R.R., & Straits, J.W. (2005). Practical advice for teaching inquiry based science process skills in the biological science. The American Biology Teacher, 67(9), 534-540.