ภาวะผู้นำด้านดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, ภาวะผู้นำด้านดิจิทัล, ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำด้านดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาและปัจจัยทางการบริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยทางการบริหารกับภาวะผู้นำด้านดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู กำหนดขนาดโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป G*Power ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 129 คน และสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำด้านดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ด้านการสื่อสารดิจิทัล ด้านการมีความรู้ดิจิทัล และด้านการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล 2) ความสัมพันธ์ของปัจจัยทางการบริหารกับภาวะผู้นำด้านดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำด้านดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีความสัมพันธ์ทางบวกทุกคู่ (r = 702, .794, .690, .795)
References
จิณณวัตร ปะโคทัง. (2561). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ. อุบลราชธานี : ศิริธรรมออฟเซ็ท.
ชัยนาม บุญนิตย์. (2563). ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการสร้างเครื่องมือวิจัย แนวทางการนำไปใช้อย่างมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์
ทินกร บัวชู และทิพภาพร บัวชู. (2562). ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารครุศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 13(2), 285-294.
วุฒิชัย เนียมเทศ และภัทราภรณ์ บุญชู. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 ในช่วงภาวะวิกฤติ COVID-1. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์, 9(9), 258-269.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). การกำหนดขนาดตัวอย่าง และสถิติวิเคราะห์ใหม่ ๆ ที่น่าสนใจ. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ6 กรกฎาคม 2566 จาก http://lllskill.com/web/files/GPower.pdf
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1. (2566). ข้อมูลจำนวนผู้บริหาร และข้าราชการครูโรงเรียนในสังกัด สพป.ปัตตานี เขต 1. ปัตตานี :ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สุกัญญา แช่มช้อย. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชญา โกมลวานิช, สิทธิชัย สอนสุภี, บุญฤทธิ์ เพ็ชรวิศิษฐ์ และเกื้อจิตต์ ฉิมทิม. (2563). องค์ประกอบของภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ (ครั้งที่ 21). 27 มีนาคม 2563. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เสกสิทธิ์ สนสมบัติ, ณัฐวรรณ พุ่มดียิ่ง และพิชญาภา ยืนยาว. (2565). ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อบทบาทครูยุคดิจิทัลในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 1. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 11(43), 54-63
สุพรรณิกา สุบรรณาจ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
อภิสรา มุ่งมาตร. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารทัศนมิติทางการศึกษา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.