การพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนสาขารัฐประศาสนศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนการสอนแบบกลุ่ม ในรายวิชาการบริหารโครงการเชิงกลยุทธ์
คำสำคัญ:
สมรรถนะ, กระบวนการเรียนการสอนแบบกลุ่มบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอกระบวนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการบริหารโครงการเชิงกลยุทธ์โดยนํารูปแบบการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอนแบบกลุ่ม ผลการวิเคราะห์ พบว่า ผู้เรียนมีเป้าหมายร่วมกันกําหนดบทบาทและความรับผิดชอบในทีมที่ชัดเจน มีความยึดมั่นผูกพันกับงานที่ได้รับมอบหมาย ส่งเสริมการแสดงศักยภาพของเพื่อนร่วมทีม มีทักษะการสื่อสารที่ดี เข้าใจและยอมรับกฎระเบียบที่ได้ตกลงร่วมกันผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมได้ดีขึ้นมีการค้นคว้าข้อมูลแบบร่วมมือ มีการคิดเชิงวิพากษ์ในกรณีศึกษาที่ซับซ้อนและสามารถสะท้อนเหตุและผลอย่างเป็นระบบ
References
กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และณมน จีรังสุวรรณ. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้ แบบการสร้างความรู้นิยมและทฤษฎีการเชื่อมโยงความรู้เพื่อการสร้างนวัตกรรมแบบประสบการณ์จริง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 7 (2): 54-67.
ขวัญชัย ขัวนา และธารทิพย์ ขัวนา. (2562). การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตศึกษา. 16 (73): 13-22.
เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย. (2560). การศึกษาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนิสิตระดับปริญญาตรี ในโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาครูในถิ่นทุรกันดารบนเขตพื้นที่สูงชายแดน ไทย-เมียนมา ด้านจังหวัดตาก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19 (4): 123-132.
ธารทิพย์ พจน์สุภาพ. (2559). การจัดการเรียนการสอนแบบการปฏิบัติงานกลุ่มหรือแบบทีม: สภาพปัญหาระดับการมีส่วนร่วม และผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา. วารสารพัฒนาการเรียนการสอนมหาวิทยาลัยรังสิต. 10 (1): 36-46.
ธีรวี ทองเจือ และปรีดี ทุมเมฆ. (2560). แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21: มิติด้านการศึกษา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 5 (3): 389-403.
นนทลี พรธาดาวิทย์. (2560). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในวิชาการจัดการเรียนรู้. วารสารวิจัย UTK ราชมงคล กรุงเทพ. 11 (1): 85-94.
ปรีดี ปลื้มสําราญกิจ. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน. วารสาร วไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 7 (3): 141-158.
ราชกิจจานุเบกษา. (2558). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ. 2558. เล่ม 132 ตอนพิเศษ 170 ง.
วรสรณ์ เนตรทิพย์ จตุพล ยงศร และราชันย์ บุญธิมา. (2560). องค์ประกอบของพฤติกรรมการเรียนรู้เป็นทีมของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.วารสารสมาคมนักวิจัย. 22 (2): 229-241.
สุดเฉลิม ศัสตราพฤกษ์. (2561). การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ทีมเป็นฐานเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในศตวรรษที่ 21. วารสารครุศาสตร์สาร. 12 (2): 197-208.
ไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล. (2559). การอํานวยกระบวนการเรียนรู้แบบเป็นทีม (Facilitation in Team-Based Learning). เวชบันทึกศิริราช. 9 (2): 75-83.
Halili, S.H. ( 2019) . Technological Advancements in Education 4.0. The Online Journal of Distance Education and e-Learning. 7 (1): 63-69.
Hussin, A.A. ( 2018) . Education 4.0 Made Simple: Ideas For Teaching. International Journal of Education & Literacy Studies. 6 (3): 92-98.
Puncreobutr, V. ( 2016) . Education 4.0: New Challenge of Learning. St. Theresa Journal of Humanities and Social Sciences. 2 (2): 92-97.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.