แนวทางการจัดตั้งและการบริหารจัดการสหภาพแรงงานแพลตฟอร์ม ของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ทับทิม สุขพิน คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

คำสำคัญ:

รูปแบบการจัดตั้ง, การบริหารจัดการ, สหภาพแรงงาน, แรงงานแพลตฟอร์ม, ประเทศไทย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่องนี้มุ่งศึกษาใน 2 ประเด็น คือ 1) การศึกษาสถานการณ์การจัดตั้งสหภาพแรงงานแพลตฟอร์มของประเทศไทย พบว่า ภาครัฐยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องสิทธิสวัสดิการแรงงานแพลตฟอร์ม ซึ่งกระทรวงแรงงานมีการแบ่งแยกโครงสร้างขององค์กรคือ กองคุ้มครองแรงงานที่ดูแลแรงงานในระบบกับกองคุ้มครองแรงงานนอกระบบที่ดูแลแรงงานนอกระบบการแบ่งในลักษณะนี้ก็ทำให้แรงงานแพลตฟอร์มอยู่ในสถานะระหว่างแรงงานสองกลุ่มนี้ เพราะแรงงานแพลตฟอร์มไม่สามารถเข้าไปอยู่ในกลุ่มใดตามเกณฑ์แบ่งแยกเดิมได้ ส่งผลให้แรงงานแพลตฟอร์มไร้หน่วยงานดูแลอย่างชัดเจน 2) การศึกษาแนวทางการจัดตั้งและการบริหารจัดการสหภาพแรงงานแพลตฟอร์มของประเทศไทย พบว่า มี 5 มิติ มิติที่ 1: การวางแผนกลยุทธ์ของสหภาพแรงงาน มิติที่ 2: การจัดองค์กรและโครงสร้างการบริหาร มิติที่ 3: การนำองค์การด้านสมรรถนะในการบริหารและการบริหารด้านการสื่อสาร มิติที่ 4: ด้านการควบคุมและพัฒนาการดำเนินงาน มิติที่ 5: การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและการประเมินผลงานกับองค์กร

References

สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ (2561). ปรับโมเดลการพัฒนาประเทศให้โตได้ในความปั่นป่วน. งานนำเสนอในงาน TDRI Annual Public Conference 2018 : ปรับทิศทางเศรษฐกิจไทยให้พร้อมสู่ยุคแห่งความปั่นป่วนทางเทคโนโลยี. https://tdri.or.th/2018/04/tdri-annual-public-conference-2018/

Vallas, S. & Schor, J. B. (2020). What do platforms do? Understanding the Gig Economy. Sociology, 46, 273-294.

นุชประภา โมกข์ศาสตร์ และเดชรัต สุขกำเนิด. (2565). นโยบายคุ้มครองสิทธิ สวัสดิภาพและสวัสดิการของแรงงานแพลตฟอร์ม : การทำงานบนแพลตฟอร์มที่เป็นธรรม นโยบายการคุ้มครองสิทธิสวัสดิภาพ และสวัสดิการของแรงงานแพลตฟอร์ม. https://think.moveforwardparty.org/article/welfare/3631/

เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. (2564). ถึงเวลาปฏิรูปเศรษฐกิจแพลตฟอร์มให้เป็นธรรมต่อแรงงาน. https://www.the101.world/kriangsak-teerakowitkajorn-interview/

อรวรรณ เกษตร. (2565). แรงงานในเศรษฐกิจแพลตฟอร์มกับปัญหาการคุ้มครองแรงงานตามกฎหมาย. https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=2893

อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ และ เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. (2561). แพลตฟอร์มอีโคโนมีและผลกระทบต่อแรงงานในภาคบริการ : กรณีศึกษาในประเทศไทย. มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท (Friedrich-Ebert-Stiftung) สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม.

Allen, L. A. (1973). Professional Management: New Concepts and Proven Practices. McGraw-Hill.

Cohen, J. M. and Uphoff, N. T. (1980). Participation's Place in Rural Development: Seeking Clarity Though Specificity. World Development, 8(3), 213-235.

Dyck, B. and Neubert., M. L. (2009). Principle of Management. Nelson Education Ltd.

Bateman, T. S. and Snell, S. A. (2011). Management: Leading & Collaborating ina Competitive World. McGraw-Hill.

Daft, L. R. (2016). Organization Theory and Design (2nd ed.). South Western Educational Publishing.

Sulong, Z. Gardner, J. C., Hussin, A. H., Sanusi, Z. M., Zuraidah, M. S. and McGowan, C. B. (2013). Managerial Ownership, Leverage and Audit Quality Impact on Firm Performance: Evidence from the Malaysian ACE Market (2013). Accounting & Taxation, 5(1), 59-70. https://ssrn.com/abstract=2210465

Think Forward Center. (2565). นโยบายคุ้มครองสิทธิ สวัสดิภาพและสวัสดิการของแรงงานแพลตฟอร์ม : การทำงานบนแพลตฟอร์มที่เป็นธรรม นโยบายการคุ้มครองสิทธิสวัสดิภาพ และสวัสดิการของแรงงานแพลตฟอร์ม. https://think.moveforwardparty.org/article/welfare/3631/.

Thumkosit, U. (2001). Management. Bangkok: Faculty of Public Administration, National Institute of Development Administration.

Piriyarangsan, S., & Phongpaichit, P. (1997). Corruption and democracy. Chulalongkorn University, Faculty of Economics. (in Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-30

How to Cite

สุขพิน ท. (2025). แนวทางการจัดตั้งและการบริหารจัดการสหภาพแรงงานแพลตฟอร์ม ของประเทศไทย. วารสารสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย, 7(1), 115–127. สืบค้น จาก https://so10.tci-thaijo.org/index.php/paatj/article/view/1140