การพัฒนาสื่อแอนิเมชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง “คำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก”
คำสำคัญ:
สื่อแอนิเมชัน, คำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก, มัลติมีเดียบทคัดย่อ
การจัดทำวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ออกแบบพัฒนาสื่อแอนิเมชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง “คำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก” เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 1) สื่อแอนิเมชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง “คำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก” 2) แบบประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน จำนวน 5 ท่าน ทำการออกแบบและสร้างแบบประเมินโดยสร้างแบบมาตรฐานจัดอันดับประเมินค่าแบบ 5 ตัวเลือกโดยตามวิธีของ Likert สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขอบเขตของเนื้อหาประกอบด้วย หมวดผลไม้ หมวดสัตว์ หมวดสิ่งของ หมวดเส้นทาง หมวดร่างกาย
ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาสื่อแอนิเมชันเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง “คำศัพท์ภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก” ประเมินคุณภาพ 7 ด้าน ประกอบด้วย ด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก ด้านการนำเสนอข้อมูลอยู่ในระดับดีมาก ด้านตัวอักษรและข้อความอยู่ในระดับดีมาก ด้านภาพนิ่งอยู่ในระดับดีมาก ด้านเสียงและภาษาอยู่ในระดับดีมาก ด้านภาพเคลื่อนไหวอยู่ในระดับดีมาก ด้านปฏิสัมพันธ์อยู่ในระดับดีมาก โดยผลการประเมินภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.88 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33
References
เกียรติพงษ์ บุญจิตร. (2554). คู่มือ Photoshop CS5 professional guide ฉบับสมบูรณ์. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์.
ณัฐกร สงคราม. (2553). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภาวิณี แสนทวีสุข. (2538). การพัฒนาชุดการจัดประสบการณ์การเขียนร่วมกันตามแนวการสอนภาษา ธรรมชาติสําหรับเด็กอนุบาล. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ประถมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปุณยภา ยอดสมณา และรังสรร ศรีอำนวย. (2561). สื่อการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง รู้ทัน “วัณโรค”. คณะวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ศศิมา สุขสว่าง. (2564). เทคนิคพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2564. จาก https://www.sasimasuk.com/15842591/brainstorm-เทคนิคพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
สวสช. (2557). Hypertext. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2564, จาก : http://www.dict.longdo.com/search/hypertext
สุภัทรา คงเรือง. (2539). ผลการใช้กิจกรรมการอ่าน ตามแนวการสอนภาษาแบบธรรมชาติที่มีต่อความคิดรวบยอดเกี่ยวกับตัวหนังสือและหนังสือของเด็กวัยอนุบาล (รายงานผลงานวิจัย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.
สังวาลย์ แหวนแก้ว และคณะ. (2560). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง "สื่อการเรียนรู้แอนิเมชันคำศัพท์ภาษาอังกฤษ สำหรับเด็กปฐมวัย". คณะวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อนิรุทธ์ โชติถนอม. (2557). การพัฒนาโปรแกรมมัลติมีเดีย. สืบคนเมื่อ 6 มีนาคม 2564, จาก: https://www.elearning.msu.ac.th/opencourse/1201372/page02.html
แอนนา พายุพัด. (2557). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การออกแบบและพัฒนาสื่อประสมสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
แอนนา พายุพัด. (2559). มัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
Festallor Education. (2020). ภาษาอังกฤษกับการติดต่อสื่อสาร. ค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2564, จาก https://www.festallor-edu.com/post/why-english-is-important
Jalongo, M. R. (1992). Early Childhood Language Arts. Boston: Allyn and Bacon.
YUSHiVA. (2557). กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเด็กปฐมวัย. ค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564, จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/yushiva/2014/01/30/entry-8/comment
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.