แนวทางการบริหารงานภาครัฐในยุค 5G
คำสำคัญ:
แนวทาง, การบริหารงานภาครัฐ, ยุค 5Gบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารงานภาครัฐของไทยที่ผ่านมา ผลกระทบต่อการบริหารงานภาครัฐจากเทคโนโลยี 5G และหาแนวทางการบริหารงานภาครัฐในยุค 5G งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยเชิงเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลจากตำรา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวิชาการและสรุปผล
ผลการวิจัยพบว่า การบริหารงานภาครัฐของไทยที่ผ่านมา เป็นแบบสายการบังคับบัญชาและระบบราชการ ต่อมาได้พัฒนาเป็นการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management- NPM) ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ มีมาตรฐาน โปร่งใส ตรวจสอบได้ และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ผลกระทบต่อการบริหารงานภาครัฐจากเทคโนโลยี 5G มีทั้งในเชิงบวก และผลกระทบในเชิงลบ โดยมีแนวทางการบริหารงานภาครัฐในยุคนี้ ได้แก่ การปรับปรุงกฎหมาย การเพิ่มงบประมาณภาครัฐด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพิ่มหน่วยงานที่การตรวจสอบความปลอดภัยในการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประชาสัมพันธ์การดำเนินของภาครัฐ การคำนึงถึงความถูกต้องและอ้างอิงต่อกฎหมาย การปรับปรุงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การปฏิสัมพันธ์กับประชาชน การใช้ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) การบริการของภาครัฐระบบออนไลน์ การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การบริหารงานภาครัฐ
References
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). ภูมิทัศน์ดิจิทัลของไทยในระยะเวลา 20 ปี. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://drive.google.com/file/d/0B11LkgVnaSG4TkVtY3o5LU90a0U/view
กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนการประชาสัมพันธ์ สำนักโฆษก. (2559). นายกรัฐมนตรีเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการเตรียมการด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจดิจิทัลและสังคม ครั้งที่ 1/2559. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2566, จาก http://www.thaigov.go.th/index.php/governmentth1/item/99971-id99971.html/th/government-th1.html
ฉัตรชัย นาถ้ำพลอย. (2563). การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. วารสารศิลปะศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ,2(2), 461-470.
ธนาชัย ธีรพัฒนวงศ์. (2561). ปัญหายุทธศาสตร์เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารภาครัฐ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(1), 91-102.
บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ. การบริหารงานภาครัฐ. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2566, จาก http://www.wiki.kpi.ac.th/
พัชราวลัย ศุภภะ. (2562). นโยบายสาธารณะและการวางแผนเพื่อจัดการองค์กรภาครัฐ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรรราชวิทยาลัย.
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2551). ทิศทางและแนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์ ใน ประมวลสาระชุดวิชา แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. (2558). ศัพท์น่ารู้ : รัฐบาลในรูปแบบต่าง ๆ. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.ega.or.th/th/content/890/855/
DeLeon, Linda, and Denhardt, Robert B. (2000). The Political Theory of Reinvention. Public dministration Review, 59(2), 89-97.
Dunleavy, Patrick. (1991). Democracy, bureaucracy, and public choice. Harvester Wheatsheaf.
Kamensky, John. (1996). Role of the ‘Reinventing Government’ Movement in Federal Management Reform. Public Administration Review, 56(3), 247-256.
Metcalfe, L. (1998, September 17-19). Accountability and effectiveness: designing the rules of accounting game. Paper presented for the European Institute for Advanced Studies in Management International Conference on Accounting for the New Public Management pp. 1-11.
Pierre, Jon and Peters, B. Guy. (2000). Governance, Politics and the State. St Martin’s Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.