This is an outdated version published on 2023-03-02. Read the most recent version.

ภาวะผู้นำในการพัฒนาชุมชนต้นแบบอาชีพสตรีมุสลิมกลุ่มนวดเพื่อสุขภาพ บ้านปาตาบูดี ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ผู้แต่ง

  • สุธิรัส ชูชื่น คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • ดุษณ์ดาว เลิศพิพัฒน์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • อับดุลเลาะ ยูโซะ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • หนึ่งนยา ไหลงาม วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำ, การพัฒนาชุมชน, ต้นแบบอาชีพ, สตรีมุสลิม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำในการพัฒนาชุมชนต้นแบบอาชีพสตรีมุสลิม และ 2) ศึกษาอุปสรรคในการพัฒนาชุมชนต้นแบบอาชีพสตรีมุสลิม กลุ่มนวดเพื่อสุขภาพบ้านปาตาบูดี ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เก็บข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายหลักทั้งหมด 20 คน คือกลุ่มสตรีมุสลิม กลุ่มนวดเพื่อสุขภาพบ้านปาตาบูดี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และแบบสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำในการพัฒนาชุมชนต้นแบบอาชีพสตรีมุสลิม สตรีมุสลิมมีภาวะผู้นำที่เหมาะสมในด้านประสานงานและด้านบริหารจัดการ มีความพร้อมที่จะเป็นผู้นำและช่วยเหลือในการพัฒนาชุมชน 2) อุปสรรคในการพัฒนาชุมชนต้นแบบอาชีพสตรีมุสลิม คือ ขาดความรู้ด้านการตลาด การประชาสัมพันธ์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่หลากหลาย ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนา คือ ควรมีถ่ายทอดองค์ความรู้และวิธีปฏิบัติ ประสบการณ์การนวดเพื่อสุขภาพโดยปราชญ์ชาวบ้านให้กับเยาวชนหรือผู้ที่สนใจ เพื่อสร้างความเข้าใจและมีแนวปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักศาสนา ต่อยอดอาชีพนี้ให้อยู่คู่กับพื้นที่ สร้างรายได้เข้าสู่ชุมชนต่อไป

References

กมลภพ กิตติโสภโณ,สุนทรมหาเจติยานุรักษ์และตระกูล ชำนาญ.(2561). ภาวะผู้นำในการพัฒนาชุมชน ต้นแบบตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบ้านโป่ง ตำบลบ้านโป่ง อำเภองาว จังหวัดลำปาง. วารสารพุทศาสตรศึกษา, 9(1), 94-109.

กัลญา อุปัชฌาย์ วิชรินทร์ สุทธิศัย และสิทธิพรร์ สุนทร. (2563). รูปแบบผู้นำสตรีในศตวรรษที่ 21 กับการพัฒนาชุมชนของสตรีในจังหวัดร้อยเอ็ด. Journal of Politics and Governance, 12 (1), 189-203.

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (2563). แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสตรี ระยะที่ 1 พ.ศ.2563-2565. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2563, จากhttps://www.doa.go.th/human/wp-content

นพพงษ์ บญุจิตราดุล. (2529). หลักการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ศูนย์การพิมพ์ กรุงเทพฯ.

นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์. (2550). กรมการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: รำไทยเพรส.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุต.โต). (2540). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพฯ: กรมการปกครอง.

พระกมลภพ กิตฺติโสภโณ. และคณะ (2561). ภาวะผู้นำในการพัฒนาชุมชนต้นแบบตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบ้านโป่ง ตำบลบ้านโป่ง อำเภองาว จังหวัดลำปาง. พุทธศาสตร์ศึกษา, 9(1), 94-109

มัลลิกา ต้นสอน. (2545). ผู้จัดการยุคใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ต.

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ : Diamond is Business World.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2546).คุณสมบัติ 15 ก ของผู้นำที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์. ผู้จัดการรายวัน. 9.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2546). การบริหารการศึกษา: หลักการ ทฤษฎี หน้าที่ ประเด็น และบทวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ทิพย์วิสุจน์.

ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2532). ภาวะผู้นำของหัวหน้าคณะวิชาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบรหารวิชาการในวิทยาลัยครู. (ปริญญานิพนธ์ กศ.ด.(การบริหารการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร).

เสาวลักษณ์ ตั้งตระกูลและเศกสรรค์ ยงวณิชย์. (2551). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารเทศบาลนครขอนแก่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น).

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2536). การวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้นำและพฤติกรรมผู้นำ ในประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อรุณ รักธรรม. (2547). หลักมนุษยสัมพันธ์กับการบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช

อภิชาติ พานสุวรรณ. (2557). การพัฒนาคุณลักษณะผู้นำชุมชนในเขตเทศบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

(วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณทิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

อภิชาติ พานสุวรรณ และอดิสร ภุ่สาระ. (2562). บทบาทผู้นำในการพัฒนาชุมชนบ้านลาว อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง. วิทยาการจัดการปริทัศน์ , 21(1), 53-62.

อนันต์ คงจันทร์. (2543).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความก้าวหน้าในอาชีพและอุปสรรคในการทำงานของผู้บริหารสตรี. จุฬาลงกรณ์วารสาร, 13(49),77-87.

Boles, H. W., & Davenport, J. A. (1975). Introduction to educational leadership. New York:Harper and Row.

Jacobs, T. O. (1970). Leadership an exchange informal organization. Alexandria: Humanresource research organization.

Gorton, A. R. (1983). School Leadership and Administration: Important Concepts, Case Studies, and Simulations. Dubuque, Iowa: Wm. C. Brown.

Khiawlit,J. (2017). Leadership and Community Leadership for Development. Source

http://l3nr.org/posts/448872 search on Aug11,2022

Krech, D., Crutchfield, R. S., & Ballachey, E. L. (1962). Individual in society: A textbook of social psychology. McGraw-Hill.

M. B. Miles and A. M. Huberman, Qualitative Data Analysis. 2nd ed. (Thousand Oaks. CA: Sage Publications,1994) p. 12

Stogdill, R. M. (1974). Handbook of leadership: A survey of theory and research.New York: McMillan.

Sergiovanni, T. (1989). The Leadership Needed for Quality Schooling, In Schooling. In T.J.

Sergiovanni and J.H. Moore. ( Eds). Schooling For Tomorrow Dincting Reforms To Issue That Count. (p.213-226). Boston : Allyn and Bacon.

Trewatha, R.L. and Newport, G.M. (1982). Management. Plano Texas: Business Publication.

Yukl, Gary A. Leadership in Organization. 4 th. ed. New Jersey: Prentice. Hall, 1998.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-02-27 — Updated on 2023-03-02

Versions

ฉบับ

บท

บทความวิจัย