บทบาทขององค์กรปกครองท้องถิ่นในการอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกและพื้นที่ เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลกในกลุ่มจังหวัดภูมิภาคตะวันตก

ผู้แต่ง

  • ณัฐภัทร์ รักวงศ์วาน คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ญาณินทร์ รักวงศ์วาน คณะสถาปัตยกรรม ศิลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คำสำคัญ:

การปกครองส่วนท้องถิ่น, พื้นที่มรดกโลกของไทย, ภูมิภาคตะวันตกของไทย, นิเวศวิทยาการเมือง

บทคัดย่อ

แหล่งมรดกโลกและพื้นที่เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลกเป็นพื้นที่ต้องได้รับการอนุรักษ์ เพื่อเป็นสมบัติของมนุษยชาติ การศึกษาชิ้นนี้ทําการศึกษาบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในกลุ่มภูมิภาคตะวันตกใน 5 จังหวัด คือ จังหวัดนครปฐม จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับแหล่งมรดกโลกและพื้นที่เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลก 4 แห่ง คือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง กลุ่มป่าแก่งกระจาน ทางรถไฟสายมรณะและพระปฐมเจดีย์ จากการศึกษาพบว่า บทบาทขององค์กรปกครองท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันตกต่อการอนุรักษ์แหล่งมรดก โลกและพื้นที่เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลกมีหลากหลายบทบาท คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีอำนาจ โดยตรงในการอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกและพื้นที่เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ได้รับ ความร่วมมือจากผู้มีอำนาจโดยตรงในการอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกและพื้นที่เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลก องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ได้รับการพัฒนาให้มีความพร้อมในการอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกและพื้นที่เตรียม เป็นแหล่งมรดกโลก แนวคิดในการอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกและพื้นที่เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลกที่แตกต่างกัน และการสร้างความเข้าใจและความตระหนักในการอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกและพื้นที่เตรียมเป็นแหล่งมรดกโลก ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

References

การปกครองส่วนท้องถิ่น, พื้นที่มรดกโลกของไทย, ภูมิภาคตะวันตกของไทย, นิเวศวิทยาการเมือง Local government, Thai world heritage sites, Thai western region, Political Ecology

คมชัดลึก, 2554. กรมศิลป์ถอดใจค้านองค์พระ 5 ครั้ง. หนังสือพิมพ์, วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554.

จุฑาทิพย์ อุมะวิชนี (ผู้แปล). 2547. วิวัฒนาการแห่งความคิด ภาคมนุษย์และมนุษยชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 4.

กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จุฑาทิพย์ อุมะวิชนี (ผู้แปล). 2547. วิวัฒนาการแห่งความคิด ภาคมนุษย์และโลก. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. 2526. การพัฒนาสถาบันทางการเมืองไทยในทศวรรษ. คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. กรุงเทพฯ : บํารุงสาส์น.

ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ. 2540. วิทยาการบริหาร สําหรับนักบริหารมืออาชีพในยุคโลกาภิวัตน์.กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปกรณ์ ศิริประกอบ. 2540. 3 พาราไดม์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ : แนวคิด ทฤษฎี และการนําไปปฏิบัติจริง.

พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรนพ พุกกะพันธ์. 2546. โลกาภิวัฒน์กับ Good Governance ในธรรมาภิบาลกับคอร์รัปขั่นในสังคมไทย.

กรุงเทพฯ : สถาบันวิถีทรรศน์.

พฤทธิสาณ ชุมพล และ หม่อมราชวงศ์ (บรรณาธิการ). 2543. การจัดการปกครอง (Governance). กรุงเทพฯ: โครงการผลิตตําราและเอกสารการสอน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิทยา บวรวัฒนา, 2545. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ. 1970 – ค.ศ. 1980). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พิทยา บวรวัฒนา, 2546. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ. 1887 – ค.ศ. 1970). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ไพรวัลย์ เคนพรม, 2558. หลักรัฐประศาสนศาสตร์, สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561. แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 8 – 15 ”

พิมพ์ครั้งที่ 1, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562. แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1 - 7” พิมพ์ครั้งที่ 3, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วรรณกร ชาวนาไร่. 2556. การประเมินการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยววัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม. การค้นคว้าอิสระ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วีรศักดิ์ เครือเทพ (บรรณาธิการ). 2547. รัฐประศาสนศาสตร์: ขอบข่ายและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระศักดิ์ เครือเทพ, 2548. ดุลยภาพแห่งรัฐ กระบวนทัศน์แห่งการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภชัย ยาวะประภาษ. 2548. การบริหารงานบุคคลภาครัฐไทย: กระแสใหม่และสิ่งท้าทาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษัท จุดทอง จํากัด.

สมาคมอิโคโมสไทย. 2561. การจัดทาเอกสาร การนาเสนอแหล่งมรดกวัฒนธรรม เส้นทางรถไฟสายไทย-พม่า (ทางรถไฟสาย มรณะ The Death Railway) เข้าสู่บัญชีชั่วคราวมรดกโลก (Tentative List). 30 เมษายน.

สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. 2549. รัฐประศาสนศาสตร์แนวคิดและทฤษฎี, บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จํากัด.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 2553. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496. แก้ไข 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 2553. พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496. แก้ไข 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553.

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 2553. พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537. แก้ไข 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก: รายงานว่าด้วยการคาดการณ์และการบริหารจัดการผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อมรดกโลก และยุทธศาสตร์เพื่อช่วยเหลือรัฐภาคีในการดำเนินการตอบสนองด้านการบริหารจัดการที่เหมาะสม.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก. สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2557. อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ. สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2558. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ. กลุ่มงานจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2558. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ. กลุ่มงานจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2561. รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการคณะอนุกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าภายใต้โครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า ในวันพฤหัสบดีที่ 8 มิถุนายน 2560 ณ อาคาร Convention Center โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2561. สรุปรายละเอียดผลการดําเนินงาน ตามแผนขับเคลื่อน (Road Map) พื้นที่กลุ่มป่าแก่งกระจาน รอบ 1 ปี (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 – มกราคม พ.ศ. 2561).

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2561. คู่มือการนําเสนอแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและแหล่งมรดกทางธรรมชาติ เป็นแหล่งมรดกโลก. อี.ที.พับลิชชิ่ง แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2562. คู่มือการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทย่านชุมชนเก่า.

สำนักนายกรัฐมนตรี. 2559. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการดําเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยการ คุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ พ.ศ. 2559. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนพิเศษ 8 ง, หน้าที่ 1, 12 มกราคม.

อัมพร ธํารงลักษณ์ (บรรณาธิการ). 2546. แปลงรูปเปลี่ยนราก บริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2546.

Adam A. Anyebe. 2018. An Overview of Approaches to the Study of Public Policy. International Journal of Political Science (IJPS), Volume 4, Issue 1, January 2018, page 08-17.

B. Guy Peters. 2000. Institutional Theory: Problems and Prospects. Institute for advanced studies, Vienna. July.

Charles L. Cochran and Eloise F. Malone. 2014. Public Policy: Perspectives and Choices. Lynne Rienner Publishers. United Stare of America.

Nattapat Rakwongwan. 2015. Wuhan Urban Wild Area Change between 2002 and 2011 in Context of Urban Political Ecology. PhD. Dissertation, Huazhong University of Science & Technology, People Republic of China.

Nicholas Henry. 2011. Public Administration and Public Affairs, (Tenth Edition). Beijing Pearson Education Information Center, Beijing, P.R. China.

R.A.W. Rhodes. 2014. Recovering the ‘Craft’ of Public Administration in Network Governance. International Political Science Association World Congress, Montreal, 19 – 24 July.

Simon Batterbury. 2018. Political ecology. The Companion to Environmental Studies, page 439 – 442.

Stephen H. Linder and B. Guy Peters. 1990 . An Institutional Approach to the Theory of Policy – making: the Role of Guidance Mechanisms in Policy Formulation. Journal of theoretical politics, volume 2, page 59 – 83.

Thomas R. Dye. 2010. Understanding Public Policy, (Twelfth Edition). Beijing Pearson Education: Beijing, People's Republic of China.

UNESCO World Heritage Center. 2010 . Managing Disaster Risks for World Heritage. United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization. Paris.

UNESCO World Heritage Center. 2011. Preparing World Heritage Nominations (Second edition). United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization. Paris.

UNESCO World Heritage Center. 2012. Managing Natural World Heritage. United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization. Paris.

UNESCO World Heritage Center. 2013. Managing Cultural World Heritage. United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization. Paris.

UNESCO World Heritage Center. 2017 . Basic Texts of the 1972 World Heritage Convention. United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization. Paris.

UNESCO World Heritage Center. 2017. Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention. United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization. Paris.

United Nation Educational, Scientific and Cultural (UNESCO), 2021. More Information – Thailand https://en.unesco.org/countries/thailand/information. สืบค้น 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-12

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ