การตอบสนองของประเทศอินโดนีเซียต่อวิกฤตการณ์ทางมนุษยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: กรณีศึกษาโรฮิงญา ค.ศ. 2009-2019
คำสำคัญ:
วิกฤตการณ์ทางมนุษยธรรม, ความสัมพันธ์อินโดนีเซีย-เมียนมา, โรฮิงญา, ปัญจศีลบทคัดย่อ
แม้ว่าประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนจำนวนหนึ่งถือว่าเหตุการณ์วิกฤตการณ์ทางมนุษยธรรมในรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา เป็นกิจการภายในของประเทศ แต่ประเทศอินโดนีเซียเป็นหนึ่งในผู้แสดงที่มีบทบาทนำที่ให้ความใส่ใจต่อวิกฤตการณ์ทางมนุษยธรรมครั้งนี้ จากมุมมองของสรรสร้างนิยม (constructivism) การศึกษานี้ มุ่งให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับผลของพฤติกรรมทางการเมืองของประเทศอินโดนีเซีย จากสองปัจจัยสำคัญ ได้แก่ อุดมการณ์ทางการเมือง และผู้แสดงบทบาทภายในของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีการปฏิสัมพันธ์ภายใต้สองรัฐบาล ได้แก่ ช่วงที่หนึ่ง รัฐบาลซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน (สมัยที่สอง) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009-2014 และช่วงที่สอง รัฐบาลโจโก วิโดโด (สมัยที่หนึ่ง) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2014-2019 บทความฉบับนี้ถกเถียงว่า ปัจจัยที่หล่อหลอมความเป็นอัตลักษณ์ทางการเมืองของประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลต่อการผลักดันท่าที และนโยบายการต่างประเทศของอินโดนีเซียในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเทศเมียนมา และรวมไปถึงประเทศอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ
References
มติชนออนไลน์. (2560). 9 ปีหลังไซโคลนนาร์กิส: พม่าเรียนรู้อะไรบ้าง: โดย ลลิตา หาญวงษ์. https://www.matichon.co.th/columnists/news_548884
BBC NEWS ไทย. (2566). 2 ปีรัฐประหารเมียนมา: 4 เรื่องราวของพลเรือนที่ถูกกระทบ และทหารที่รักษาอำนาจ. https://www.bbc.com/thai/articles/crgzm4m0yreo
Assistance Association for Political Prisoners (Burma). (2024). Political Prisoners Post-Coup. https://aappb.org/
ศิววงศ์ สุขทวี. (2557). โรฮิงยา ชีวิตภายใต้อำนาจจากชายแดนด้านตะวันตกของพม่าถึงไทย. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 33(1), 197-222.
เสกสัณ เครือคำ. การย้ายถิ่นอย่างไม่ปกติของคนต่างด้าวชาวมุสลิมในเขตพื้นที่ภาคใต้ของไทย. Thai Journal of Public Administration, 14(2) 155-176.
Human Rights Watch. (2017). Burma: Satellite Images Show Massive Fire Destruction. https://www.hrw.org/news/2017/09/02/burma-satellite-images-show-massive-fire-destruction
A. K. M. Ahsan Ullah. (2016). Rohingya Crisis in Myanmar: Seeking Justice for the “Stateless”. Journal of Contemporary Criminal Justice, 32(3), 285-301.
พิทยุตม์ พันธุ์สวัสดิ์. (2562). บทบาทของกลุ่มชาวพุทธหัวรุนแรงต่อวิกฤตการณ์โรฮิงญาในเมียนมา. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4(1), 55-92.
Nattapat Limsiritong. (2017). Why ASEAN Fails to Play Role in the Rohingya Situation from the Perspective of ASEAN Charter. Asian Political Science Review, 1(2), 73-79.
Md. Shariful Islam. (2019). Understanding the Rohingya Crisis and the Failure of Human Rights Norm in Myanmar: Possible Policy Responses. Jadavpur Journal of International Relations, 23(2), 158-178.
Ruland, J. (2014). Constructing Regionalism Domestically: Local Actors and Foreign Policymaking in Newly Democratized Indonesia. Foreign Policy Analysis, 10(2), 181-201.
Beeson, M. and Lee, W. (2015). The Middle Power Moment: A New Basic for Cooperation between Indonesia and Australia? Indonesia’s Ascent.
Wendt, A. (1992). Anarchy is What States Make of It: The Social Construction of World politics. International Organization, 46(2), 391-425.
จุณชีพ ชินวรรโณ. (2557). โลกศตวรรษที่ 21 กรอบการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Sugito, N., Aulia, R., and Rukmana, L. (2021). Pancasila as the Establishing Ideology of Nationalism Indonesia Young Generation. In Conference: International Conference on Character Education (ICCE 2020), February, 2021, Semarang.
Ericka Kesya Kurniawan, Vetrick Wilsen, Shanty Valencia, and Qonita Azizah. (2022). Implementation of Pancasila Ideology in Modern Society. Journal Pendidikan Amartha, 1(2), 91-98.
Ranny Rastati. (2022). Internationalizing Pancasila Through Pop Culture and Youth Community. Journal Masyarakat dan Budaya, 24(2), 219-230.
Rina Rizky Amalia. (2021). A Comparison of Indonesian Foreign Policy between Susilo Bambang Yudhoyono and Joko Widodo Presidencies in Maritime Diplomacy. Muhammadiyah University of Yogyakarta.
กอปร์ธรรม นีละไพจิตร. (2561). การแก้ไขความขัดแย้งอาเจะห์: ความสำเร็จจากมุมมองการต่างประเทศของรัฐบาลซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน. International Journal of East Asian Studies, 21(2), 107-125.
พิธุวรรณ กิติคุณ. (2561). วิกฤตมนุษยธรรมโรฮิงญา: ปัญหาที่ไร้ทางออก? [เอกสารไม่ได้ตีพิมพ์]. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 PAAT Journal (วารสารสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.