ข้อควรระวังร่องรอยดิจิทัลในโลกออนไลน์

ผู้แต่ง

  • สิงห์ สิงห์ขจร มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • กฤษณะ เชื้อชัยนาท มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • กฤษฎา พรหมเวค มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ณัฐกานต์ แก้วขำ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • รัตนา บุญอ่วม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

ข้อควรระวัง , ร่องรอยดิจิทัล, อินเทอร์เน็ต, สื่อสังคมออนไลน์ , โลกออนไลน์

บทคัดย่อ

         การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อควรระวังร่องรอยดิจิทัลบนโลกออนไลน์ ผลการศึกษา พบว่า  ร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint)  คือร่องรอยแห่งการทำสิ่งต่าง ๆ บนโลกออนไลน์ทุกครั้ง ข้อมูลการใช้งานทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้นบนโลกอินเทอร์เน็ต ร่องรอยดิจิทัล มี 2 ประเภท 1) ร่องรอยดิจิทัลที่ไม่ตั้งใจ (Passive Digital Footprint) เป็นร่องรอยดิจิทัลที่ทิ้งไว้โดยไม่ตั้งใจ ไม่รู้ตัวว่าได้ทิ้งร่องรอยไว้บนอินเทอร์เน็ต 2) ร่องรอยดิจิทัลที่ตั้งใจ (Active Digital Footprint) เป็นข้อมูลทางดิจิทัลที่เปิดเผยโดยตั้งใจ การโพสต์ข้อความ รูปภาพ วีดีโอลงบนสื่อสังคมออนไลน์ อัลกอริทึมที่พัฒนามาจากร่องรอยดิจิทัลของผู้ใช้งานมากำหนดสิ่งที่นำเสนอให้ผู้ใช้งาน ตามความสนใจ และพฤติกรรมของผู้ใช้งาน ข้อควรระวังร่องรอยดิจิทัล ผู้ใช้งานควรมีการตรวจสอบร่องรอยดิจิทัล และวิธีการหลีกเลี่ยงการทิ้งร่องรอยดิจิทัล การใช้งานอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์

References

ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์สุข และคณะ. (2565). การสื่อสารในภาวะวิกฤตโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประเทศไทย.วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 7(2), 32-40.

ปรัชญา มหาวินิจฉัยมนตรี และคณะ. (2565). สงคราม สื่อมวลชน รัสเซีย-ยูเครน ผ่านการกำหนดวาระ ข่าวสารของประเทศรัสเซีย. วารสารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 4(1), 1-10

รัตนา บุญอ่วม, ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์สุข, และสิงห์ สิงห์ขจร. (2564). 5G การสื่อสารที่เปลี่ยนแปลงไปกับการแพร่กระจายนวัตกรรม. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติด้านวิทยาการจัดการ (หน้า 205-212). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

สิงห์ สิงห์ขจร. (2562). กระบวนการจัดการข่าวสารที่เป็นเท็จ. วารสารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 1(1), 1-13.

Azucar D., Marengo, D. & Settanni, M. (2017) ‘Predicting the Big 5 personality traits from digital footprints on social media: A meta-analysis’. Personality and Individual Differences. 124 (1): 150 – 159.

Hinds, J. & Joinson, A. (2019). Human and Computer Personality Prediction From Digital Footprints. Current Directions in Psychological Science. 28(2): 204–211

Khusyainov, T. M. (2022). ‘Humans and Their Digital Footprints: Fantasy Becomes Reality’. HSE Campus in Nizhny Novgorod website. [Online]. Retrieved from: https://nnov.hse.ru/en/news/557760495.html[September 11,2023]

Littlejohn, S. W. & Foss, K.A. (2008) Theories of Human Communication. U.S.A.: Wadsworth Cengage Learning.

McDermot, M. (2018) Digital footprints: Creation, implication, and higher education. FDLA Journal, 3(11): 1 – 6.

Nawi, A., Hussin, Z., Ren, C. C., Norsaidi N. S. & Pozi, M. S. M. (2020) ‘Identifying the Types of Digital Footprint Data Used to Predict Psychographic and Human Behaviour’. Proceedings of the 22nd International Conference on Asian Digital Libraries ICADL2020. Kyoto, Japan, November 30 – December 1, 2020: 287 – 296.

Rowe, F. (2022) ‘Using digital footprint data to monitor human mobility and support rapid humanitarian responses’, Regional Studies, Regional Science, 9(1): 665 – 66.

Singkhajorn, S. (2021) Book Review Sociology in Modules. STOU academic Journal of research and innovation (Humanities and Social Science) 1(1): 58 – 61.

Surmelioglu, Y. & Seferoglu, S. S. (2019) An examination of digital footprint awareness and digital experiences of higher education students. World Journal on Educational Technology Current Issues. 11(1): 48 – 64.

Vervier, L., Zeissig, E-M., Lidynia, C. and Ziefle, M. (2017). ‘Perceptions of Digital Footprints and the Value of Privacy. Proceedings of the 2nd International Conference on Internet of Things, Big Data and Security (IoTBDS): 80 – 91.

Wook, T. S. M. T., Mohamed, H., Noor, S. F. M., Muda, Z. & Zairon, I. Y. (2019) ‘Awareness of Digital Footprint Management in the New Media Amongst Youth’. Jurnal Komunikasi: Malaysian Journal of Communication Jilid 35(3): 407 – 421.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28