“ข่าวปลอม” ภัยร้ายใกล้ตัวของผู้ใช้โซเชียลมีเดีย
คำสำคัญ:
ข่าวปลอม , การรู้เท่าทันสื่อ, บทลงโทษตามกฎหมายสำหรับผู้สร้างข่าวปลอมบทคัดย่อ
ข่าวปลอมเป็นการนำเสนอข้อมูลที่เป็นเท็จหรือทำให้เข้าใจผิด มักมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงของบุคคลหรือนิติบุคคล หรือสร้างรายได้จากการโฆษณา โดยปัจจุบัน รูปแบบของข่าวปลอมนั้นมีอยู่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาเลียนแบบ ล้อเลียน เสียดสีให้รู้สึกขบขัน เนื้อหาชี้นําให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการเพื่อผลประโยชน์บางอย่าง เนื้อหาแอบอ้างเป็นแหล่งข้อมูลหรืออ้างตัวเป็นแหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือให้ข้อมูล เนื้อหาที่ประดิษฐ์ขึ้นเป็นเนื้อหาปลอมที่สร้างขึ้นมาใหม่ทั้งหมด การเชื่อมโยงเนื้อหาที่ผิด มีการพาดหัวข่าว ภาพประกอบ ข้อมูลรายละเอียดไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เนื้อหาที่ผิดบริบท โดยมีเนื้อหาข้อมูลจริงแต่ใช้ไม่ถูกในบริบทหรือสถานการณ์นั้น และเนื้อหาที่หลอกลวง ซึ่งเป็นข้อมูลจริง แต่ใช้เพื่อเจตนาหลอกลวงให้หลงเชื่อ ข่าวปลอมไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใดย่อมสร้างผลกระทบในหลายมิติ ตั้งแต่ในระดับบุคคลอันเกิดจากความเข้าใจผิดซึ่งอาจส่งผลเสียต่อชื่อเสียงเกียรติยศ ชีวิตและทรัพย์สินแล้วยังทำให้เกิดความขัดแย้งในสังคม เช่น ข้อมูลเท็จทางด้านการเมือง หรือข่าวสถานการณ์ระหว่างประเทศที่บิดเบือน อาจนำไปสู่ปัญหาระหว่างประเทศ ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นวงกว้างมากกว่าเดิม
References
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2566, 2 มกราคม). “ดีอี เอส” เปิดสถิติเฟคนิวส์ ปี 2565 พบข่าวปลอมนโยบายภาครัฐครองแชมป์สูงสุด. สืบค้นจาก https://www.mdes.go.th/news/ detail/6383—อีดีเอส-เปิดสถิติ-เฟคนิวส์—ปี-2565-พบข่าวปลอมนโยบายภาครัฐครองแชมป์สูงสุด.
กองบรรณาธิการจุลสารราชดำเนิน. (2560). เฟค นิวส์ (Fake News) วัชพืชแห่งวารสารศาสตร์ [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย.
เขมนิจ มาลาเว. (2563, 16 ตุลาคม). ยับยั้ง FAKE NEWS ด้วยรู้เท่าทันและรู้วิธีตรวจสอบ สร้าง “เช็คก่อนแชร์” ให้เป็น NEW NORMAL. สืบค้นจาก https://www2.rsu.ac.th/sarnrangsit-onlin-detail/CommArts-Article18.
คมชัดลึก. (2564, 4 กุมภาพันธ์). มารู้จัก ศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีมรวมดาวก่อนเด็ดปีก 'เสี่ยโป้ โป้อานนท์'. สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/crime/457382.
โครงการโคแฟค. (2564, 15 กรกฎาคม). Cofact – Join us as a fact checker! ชวนทุกคนมาตรวจสอบข้อมูลข่าวสารร่วมกันกับเรา. สืบค้นจาก https://blog.cofact.org/about/.
ชยพล ธานีวัฒน์. (2562, 10 ตุลาคม). การบังคับใช้กฎหมายเพื่อรับมือกับข่าวปลอม (Fake News). สืบค้นจาก https://cdc.parliament. go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_ dl_ link. php?nid=2439.
ณภัชชา นิลแก้ว, วชิรญาณ์ แก้วมณี, ส่องแสง ศรีหมื่น, เวชยันต์ ช้างรักษา, นิภา วิระสอน และจิรภัทร ศิริไล. (2561). Fake News วิกฤตศรัทธาต่อองค์กรสื่อ. ในการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง Fake News วิกฤตการสื่อสารในยุคดิจิทัล (หน้า 1-7). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช.
ทีมข่าวไบร์ททูเดย์. (2562, 21 สิงหาคม). 7 วิธีสังเกต ข่าวปลอม Fake News บนโลกออนไลน์ [รายงานพิเศษ]. สืบค้นจาก https://www.brighttv.co.th/special-reports/7-how-to-observe-fake-news.
ธาม เชื้อสถาปนศิริ. (2557, 2 มีนาคม). เปิด 5 แนวคิดรู้เท่าทันสื่อ-รู้ทันตัวเอง ก่อนโพสต์ ไลค์ แชร์. สำนักข่าวอิศรา. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/isranews/27634-media_27634.html.
นันทิกา หนูสม. (2561). ลักษณะของข่าวปลอมในประเทศไทยและระดับความรู้เท่าทันข่าวปลอมบนเฟซบุ๊กของผู้รับสารในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ กองบัญชาการตำรวจสันติบาล. (2563, 19 กุมภาพันธ์). รู้จัก Fake News ทั้ง 7 รูปแบบ ที่อาจเจอทุกวันบน Facebook และ Twister. สืบค้นจาก https://www. sbpolice.go.th/news/รู้จักFakeNewsทั้ง7รูปแบบที่อาจเจอทุกวันบนFacebookและTwister_164.html.
พิณ พัฒนา. (2560, 15 มกราคม). รู้เขาหลอกแต่เต็มใจให้หลอก รู้จัก‘Fake News’ ข่าวปลอมออนไลน์ที่เราชักเจอจริงบ่อยขึ้นทุกวัน. สืบคนจาก http://www. kmutt.ac.th/organization/ssc334/ asset5. html.
มติชนออนไลน์. (2562, 1 พฤศจิกายน). เปิดศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ รับเรื่องร้องเรียนผ่านไลน์ ‘บิ๊กปั๊ด’ นั่งผอ. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/local/crime/news_1736283.
วารยา. (2566, 15 มกราคม). 10 สุดยอดทฤษฎีสมคบคิดฮิตทั่วโลกข้อเท็จจริงหรือเรื่องลวงโลกที่ (บางคน) รอการพิสูจน์. สืบค้นจาก https://www.silpa-mag.com/history/article_46723.
ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย. (2566, 15 มีนาคม). ข่าวปลอมอย่าแชร์! ธนาคารออมสินเปิดกลุ่ม เฟซบุ๊กเพื่อให้กู้เงิน. สืบค้นจาก https://antifakenewscenter.com/การเงิน-หุ้น/ข่าวปลอม-อย่าแชร์-ธนาคารออมสินเปิดกลุ่มเฟซบุ๊ก-เพื่อให้กู้เงิน/
ศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2565). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี 2565. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562, 30 ตุลาคม). Fake News ลวงให้เชื่อ หลอกให้แชร์. สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/knowledge-sharing/articles/IFBL/FakeNews.aspx.
องค์การเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ. (2563). การเสนอข่าวลวง และข้อมูลบิดเบือน. (คู่มือเพื่อการศึกษาและฝึกอบรม). กรุงเทพฯ: บุ๊คสเคป.
BBC NEWS. (2564, 12 พฤษภาคม). วัคซีนโควิด: กระทรวงดีอีเอสฯ สั่งฟ้องนักข่าวไทยพีบีเอสแพร่ข่าวปลอมหญิงแพ้วัคซีน. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-57082921.
Desai, S., Mooney, H., & Oehrli, J. A. (2017, 6 June). "Fake News," Lies and Propaganda: How to Sort Fact from Fiction. Retrieved from http://guides.lib.umich.edu/fakenews.
Nurse, M. (2016, 15 June). Fake news and other types of misinformation defined. Retrieved from http://communicationscience.org.au/fake-news-and-other-forms-of-misinfor mation-defined/.
Sunny walker. (2560, 6 พฤศจิกายน). สรุปปัญหาข่าวปลอมที่รุนแรง จนบริษัทโซเชียลต้องกลับไปรื้อนโยบาย ทบทวนตัวเองใหม่. สืบค้นจาก https://www.blognone.com/node/96867.
The European Association for Viewers Interests. (2016, 13 June). Infographic: Beyond Fake News – 10 Types of Misleading News. Retrieved from https://eavi.eu/ beyond-fake-news-10-types-misleadin.
The Standard Team. (2562, 1 พฤศจิกายน). เปิดตัวศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ติดตามตรวจสอบข้อมูลสื่อออนไลน์ ตรวจเช็กข่าวปลอมได้ทันทีใน 2 ชั่วโมง. สืบค้นจาก https://thestandard.co/anti-fake-news -center-2/.
Wardle, C. (2017, 16 Februry). Fake news. It’s complicated. Retrieved from https://firstdraftnews.org/ fake-news-complicated/.
Wineburg, S., McGrew, S., Breakstone, J. & Ortega, T. (2016, 5 July). Evaluating Information: The Cornerstone of Civic Online Reasoning. Stanford Digital Repository. Retrieved from http://purl.stanford.edu/fv751yt5934.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.