ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ของบุคลากรตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน, การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในภาครัฐ, บุคลากรตรวจสอบภายในภาครัฐ, สถาบันอุดมศึกษาของรัฐบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของบุคลากรตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 2) ศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของบุคลากรตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และ 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของบุคลากรตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ การวิจัยในครั้งนี้เก็บข้อมูลจากประชากรด้วยแบบสอบถาม โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้อำนวยการ/หัวหน้างานตรวจสอบภายใน และเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จำนวน 44 แห่ง รวมชุดข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งสิ้น 88 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหูคุณ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และมีระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการทดสอบสมมติฐานยังพบว่า คุณภาพของงานตรวจสอบภายใน การติดตามและประเมินผล ทักษะทางเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ และความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน เป็นปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของบุคลากรตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 อย่างไรก็ตามผู้ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในภาครัฐจะต้องเข้ารับการพัฒนาพัฒนาศักยภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อก้าวเข้าสู่การเป็นผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐอย่างมืออาชีพผ่านกระบวนการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัลในสถาบันอุดมศึกษาได้
References
กรมบัญชีกลาง. (2560). มาตรฐานการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ. กรุงเทพฯ: กระทรวงการคลัง.
กรมบัญชีกลาง. (2561). หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: กระทรวงการคลัง.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2540). หลักสถิติ. พิมพ์ครั้งที่ 4 : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฐิติรัตน์ มีมาก. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 4(1), 24-39.
ณัฐชรัตน์ สินธุชัย. (2560). ประสิทธิภาพของการตรวจสอบบภายในของส่วนราชการในภาคกลางของประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 7(2), 306-314.
บรรดาศักดิ์ ชูสาย. (2562). ได้ศึกษาปัจจัยที่อิทธิพลต่อคุณภาพรายงานตรวจสอบภายในของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี. มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ประเสริฐ อัครประถมพงศ์. (2563). การบริหารความเสี่ยงของสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.
มณฑ์ชยธิดา พรมเยี่ยม. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการตรวจสอบภายในของการยางแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการตรวจสอบภายใน. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. กรุงเทพมหานคร.
มาลีรัตน์ พัฒนตั้งสกุล และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธ์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลของการตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2560.
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2565). ข้อมูสถาบันอุดมศึกษา. สถิติอุดมศึกษาออนไลน์.
สุมิตร รัตนะบัวงาม และฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2565). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิผลของงานตรวจสอบภายในของกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 12(2), 58-72.
อรพรรณ แสงศิวะเวทย์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของงานตรวจสอบภายใน: มุมมองของผู้ตรวจสอบภายใน. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ, 4(3).
Abdul, H., & Shamyla, A. (2012). Linking Top Management Support and IT Infrastructure with Organizational Performance: Mediating Role of Knowledge Application. Canadian Social Science, 8(1), 121-129.
Abdulahi, A. D., & Omar, N. (2 0 1 6 ). Effects of Internal Audit Practice on organizational performance of remittance companies in Modadishu-Somalia. Journal of Business Management, 2(9), 12-33.
Abuda, D., Gariba, O., & Samuel, E. (2015). The Organizational Independence of Internal Auditors in GHANA: Empirical Evidence from Local Government. Asian Journal of Economic Modelling, 3(2), 33-45.
Almasria, A. N., Airout, R. M., Samara, A. I., Saadat, M., & Jrairah, T. S. (2021). The role of accounting information systems in enhancing the quality of external audit procedures. Journal of Management Information and Decision Sciences. 24(S2), 1-23.
Ameeq, U., & Furqan, H. (2013). Impact of Training on Employee's Development and Performance in Hotel Industry of Lahore Pakistan. Journal of Business Studies Quarterly, 4(4), 68-82.
Amira, P. (2022). Determinants of the quality of internal control over the financial reporting system. Časopis za ekonomiju i tržišne komunikacije, 12(2), 462-475.
Ari, B., Sri, D. A., & Asri, S. (2021). Kualitas audit melalui analisis faktor- factor independensi dan profesionalisme audit internal. Jurnal Akuntansi. 10(1), 16-23.
Azhar, S. (2013). Accounting Information Systems. Lingga Jaya, Bandung.
Certo, S. C. (2000). Modern management. New York: Prentice-Hall.
David, M. & Georgina, M. (2022). Internal audit and the use of new technologies in higher education. 2022 17th Iberian Conference on Information Systems and Technologies (CISTI), 2085-2088.
de las Heras, E. (2012). The Impact of the Spanish Financial Act (44/2002) on Audit Quality. Revista Espanola de Financiacion y Contabilidad. 41(156), 521-546.
Deloitte Touche Tohmatsu Limited. (2010). Commercial Breaks Football Money League. Retrieved from https://citly.me/Pn10z
Emerson, H. (1931). The twelve principles of efficiency. New York: The Engineering Magazine co.
Falola, H., Osibanjo, A. & Ojo, S. (2014). Effectiveness of Training and Development on Employees' Performance and Organisation Competitiveness in the Nigerian Banking Industry. Economic Sciences, 7(56), 161-170.
Gordon, J. R. (1992). A Diagnostic Approach to Organizational Behavior. (3rd ed). Massachusetts : Allyn and Bacon.
Inneke, A. & Emmy, I. (2020). The Role Of Internal And External Factors On Audit Quality. Jurnal Manajemen Dan Keuangan, 9(1), 73-87.
Emerson, H. (1931). The twelve principles of efficiency. New York: The Engineering Magazine co.
Maxwell, S. E. (2000). Sample size and multiple regression analysis. Psychological Methods, 5(4), 434–458.
Nguyen, T. H. L. (2022). The FACTORS AFFECTING THE EFFECTIVENESS OF INTERNAL AUDIT. International Journal of Scientific Research and Management (IJSRM), 10(05), 3405-3499.
Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory. (2rd ed). New York: McGraw-Hill.
Pedro, J., Ramos, V., Juan, R. B., Elena, F., & Linda, K. (2019). Assessing job performance using brief self-report scales: The case of the Individual Work Performance Questionnaire. Journal of Work and Organizational Psychology. 35(3), 195-205.
Rhoades, L. & Eisenberger, R. (2002). Perceived organizational support: A review of The literature. Journal of Applied Psychology, 87(4), 698–714.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research. 2, 49-60.
Salim, A. H. A., Hassnain, R. T. & Hakeem, H. F. (2019). The Effect of Internal Training and Auditing of Auditors on Supply Chain Management: An Empirical Study in Listed Companies of Iraqi Stock Exchange for the Period 2012-2015. International Journal of Supply Chain Management. 8(5), 1070-1075.
Steers, R. M. (1977). Organization effectiveness. California: Goodyear Publishers Inc.
Tadesse, D., Jasmindeep, K. & Rajeev, K. (2020). The Practices and Effectiveness of Internal Auditing among Public Higher Education Institutions, Ethiopia. American Journal of Industrial and Business Management, 10, 1291-1315.
Tesfaye, E. G. (2019). A Study on the Role and Effectiveness of Internal Audit in Public Enterprises: The Case of Nekemte City Administration. Public Policy and Administration Research. European Journal of Business and Management, 11(7), 59-70.
The Institute of Internal Auditors. (2013). International standards for the professional practice of internal auditing the institute of internal auditors. Retrieved from https://citly.me/aDw8l.
Thu, T. T. & Thanh, N. D. (2022). Factors Affecting Internal Audit Effectiveness: Empirical Evidence from Vietnam. International Journal of Financial Studies, 10(37), 1-14.
Usman. (2016). Effect of Independence And Competence The Quality Of Internal Audit: Proposing A Research Framework. International Journal of Scientific & Technology Research, 5(2), 221-226.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.