ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพผลการดำเนินงานและคุณภาพกำไร ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็มเอไอ ประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • พิมพ์ผกา ใจมุข คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • วัฒนา เถาว์ชาลี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • นฤรัตน์ ตรีเพ็ชร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • ณัฐดนัย สุขเจริญ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • นริศรา คงเพ็ชรศักดิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • ปัฐทินี มีสุข คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • สุวิทย์ พลฤทธิ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

คำสำคัญ:

ตลาดหลักทรัพย์, ประสิทธิผลการดำเนินงาน, คุณภาพกำไร

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพของผลการดำเนินงานและคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็มเอไอ (MAI) ประเทศไทย  โดยข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย คือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็มเอไอ (MAI) ประเทศไทย จำนวน 86 บริษัท รวมข้อมูลทั้งสิ้น 258 ข้อมูล โดยศึกษาจากงบการเงินประจำปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559–2561 โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากรายงานการเงินของบริษัทในฐานข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ เอ็มเอไอ (MAI)  ประเทศไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่าอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ความสัมพันธ์ตรงกันข้ามกับคุณภาพกำไรส่วนอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมีความสัมพันธ์กับคุณภาพกำไรวัดโดยวัดวิธีรายการคงค้างจากเงินทุนหมุนเวียนอย่างมีนัยสำคัญเชิงบวก

References

ดารานาถ พมหมอินทร์. (2560). ความสัมพันธ์ของผลการดำเนินงานและคุณภาพกำไรต่อราคาหลักทรัพย์ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบัญชี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ธนวัฒน์ เงินลิ่ม. (2550). การวิเคราะห์คุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหมวดชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วรศักดิ์ ทุมมานนท์. (2549). มิติใหม่ของงบการเงินและการวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร: ไอโอนิคอินเตอร์เทรดรีซอสเซส.

ศิริมา แก้วเกิด. (2559). การวิเคราะห์คุณภาพกำไรและประสิทธิภาพในการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

สมชาย สุภัทรกุล. (2554). งบการเงิน: ข้อมูลสำหรับการสื่อสารและการตัดสินใจทางธุรกิจ.กรุงเทพฯ: คณะบุคคลอิเมจิเนียริ่ง.

สุทธิเพ็ญ ดีสวัสดิ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทนจากกำไรสุทธิอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์และอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นในการอธิบายหลักทรัพย์. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

อรอุมา ต้นดี. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อราคาตลาดหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุสาหกรรมเกษตร และกลุ่มอุสาหกรรมอาหาร.การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

Abdelghany, K. E. (2005). Informational content of the cost of equity capital: empirical evidence. Managerial Auditing Journal.

Barton, J., &Simko, P. J. (2002). The balance sheet as an earnings management constraint. The accounting review, 77(s-1), 1-27.

Chan, A. L. C., Lin, S. W., & Strong, N. (2009). Accounting conservatism and the cost of equity capital: UK evidence. Managerial Finance.

Hicks, J. R. (1939). The foundations of welfare economics. The Economic Journal, 49(196), 696-712.

Jones, J. J. (1991). Earnings management during import relief investigations. Journal of accounting research, 29(2), 193-228.

Jorgensen, M. (2007). A critique of how we measure and interpret the accuracy of software development effort estimation. In First international workshop on software productivity analysis and cost estimation. Information Processing Society of Japan Nagoya.

Kerstein, J., & Rai, A. (2007). Intra-year shifts in the earnings distribution and their implications for earnings management. Journal of Accounting and Economics, 44(3), 399-419.

Lee, C. W. J., Li, L. Y., & Yue, H. (2006). Performance, growth and earnings management. Review of Accounting Studies, 11(2-3), 305-334.

Leuz, C. (2003). IAS versus US GAAP: information asymmetry–based evidence from Germany's new market. Journal of accounting research, 41(3), 445-472.

Leuz, C., Nanda, D., &Wysocki, P. D. (2003). Earnings management and investor protection: an international comparison. Journal of financial economics, 69(3), 505-527.

Penman, S. H. (2001). On comparing cash flow and accrual accounting models for use in equity valuation: A response to Lundholm and O'Keefe (CAR, Summer 2001). Contemporary Accounting Research, 18(4), 681-692.

Schipper, K., & Vincent, L. (2003). Earnings quality. Accounting horizons, 17, 97-110.

Sloan, R. G. (1996). Do stock prices fully reflect information in accruals and cash flows about future earnings?. Accounting review, 289.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-23