การจัดการการท่องเที่ยวเชิงพหุวัฒนธรรมโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษาชุมชนท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรม จังหวัดปัตตานี
คำสำคัญ:
การจัดการการท่องเที่ยวเชิงพหุวัฒนธรรม, กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน, ชุมชนท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรมบทคัดย่อ
ประเด็นความสำคัญของนโยบายและแผนการพัฒนาต่าง ๆ ที่มุ่งส่งเสริมการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม โดยการจัดการการท่องเที่ยวให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและการจัดการการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตอย่างเป็นระบบ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการจัดการการท่องเที่ยวเชิงพหุวัฒนธรรมโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษาชุมชนท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรม จังหวัดปัตตานี โดยยึดกรอบและแนวทางการตามนโยบายและแผนพัฒนาที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพหุวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติ ภูมิภาค จังหวัดและท้องถิ่น โดยการจัดการการท่องเที่ยวเชิงพหุวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือที่สำคัญให้ประชาชนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งด้านทรัพยากรทางท่องเที่ยว การบริการการท่องเที่ยวและการตลาดท่องเที่ยว โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์และการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ซึ่งแต่ละชุมชนต่างมีต้นทุนทรัพยากรท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และเทศกาล งานประเพณีที่มีความโดดเด่นเฉพาะพื้นที่ ประกอบกับความหลากหลายทางพหุวัฒนธรรมของชุมชนท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรม จังหวัดปัตตานี ได้แก่ ชุมชนไทยจีน ชุมชนมลายูจะบังติกอ ชุมชนผสมผสานและชุมชนทรายขาว ทั้งยังมุ่งเน้นการส่งเสริมการทำงานอย่างบูรณาการ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาควิชาการ ซึ่งเป็นกลไกนำไปสู่การจัดการการท่องเที่ยวอย่างสมดุลและยั่งยืนทั้งมิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคมและวัฒนธรรมและมิติด้านสิ่งแวดล้อมต่อไป
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). ชุมชนท่องเที่ยวทรายขาว. สืบค้น 21 พฤษภาคม 2566, จาก https://thailandtourismdirectory.go.th/attraction/3548.
กรประพัสสร์ เขียวหอม, ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, และสมิทธ์ชาต์ พุมมา. (2563). พื้นที่และความหมายโฮมสเตย์เกาะยอเพื่อการท่องเที่ยวในบริบทพหุวัฒนธรรม. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 16(2), 137-153.
คมลักษณ์ สงทิพย์. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีศึกษา ตลาดน้ำวัดตะเคียน อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
กฤติยา สมศิลา และกนกกานต์ แก้วนุช. (2561). ปัจจัยการมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านโพน อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(1), 103-123.
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2563). แผนปฏิบัติการการพัฒนาการท่องเที่ยวประจำเขตพัฒนาการท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรมชายแดนใต้. สืบค้น 21 พฤษภาคม 2566, จาก https://pattani.mots.go.th/download/article/article_20200407132742.pl.
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2564). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2564). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570). กรุงเทพฯ: คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ.
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดปัตตานี. (2561). แผนพัฒนาจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2561-2565. ปัตตานี: คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดปัตตานี.
จิรัชยา เจียวก๊ก. (2563). กือดาจีนอ : นวัตกรรมจากวัฒนธรรมของปัตตานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 12(2), 1-14.
จุฑาภรณ์ ทองเพ็ง. (2554). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวัดโสธรวรารามวรวิหาร จังหวัดฉะเชิงเทรา. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชัยรัตน์ จุสปาโล. (2558). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงพหุวัฒนธรรมชุมชนรอบอ่าวปัตตานี จังหวัดปัตตานี. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2552). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
นิติไทย นัมคณิสรณ์. (2558). ทักษะสังคมพหุวัฒนธรรม. เอกสารประกอบการสอนวิชา ศท 121 การดำรงชีวิตในสังคมยุคใหม่และประชาคมอาเซียน. ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. สืบค้น 21 พฤษภาคม 2566, จาก http://ge.kbu.ac.th.
ประกาศ ปาวา ทองสว่าง และเกิดศิริ เจริญวิศาล. (2563). การวิเคราะห์ความหลากหลายทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมสู่การศึกษาการท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรม. ในการประชุมระดับชาติด้านการบริหารจัดการ ครั้งที่ 12 ประจำปี 2563 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 6 มิถุนายน 2563.
ประเวศ วะสี. (2541). ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ปาฐกถาพิเศษ ป๋วย อึ๊งภากรณ์. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
ปรีดา เจษฎาวรางกุล. (2550). การมีส่วนร่วมของกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลเมืองคูคต อำเภอลำลูกกาจังหวดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการปกครองท้องถิ่นวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปาริชาติ วิสุทธิสมาจาร. (2563). ม.อ.แนะรัฐบูมการท่องเที่ยวชุมชน จุดขายความแตกต่างพหุวัฒนธรรม. สืบค้น 21 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.bluechipthai.com/news.
พรชัย เพียรพล. (2559). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเหล่า ในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงม่อนเงาะ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 11(2), 146-158.
พรชิตา ชาญณรงค์, อิสเฮาะ สะนิ, อริสา กอร์เดร์, ซัมซูณี เจะเย็ง, อัสรี หะสีแม, และดาลีซะห์ ดะยี. (2561). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยว ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี. ในการประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 261-267.
พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม, พระเมธีวรญาณ พระเมธีวรญาณ, และสมหญิง ลมูลพักตร์. (2563). การอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย กรณีศึกษาสังคมพหุวัฒนธรรมในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 6(2), 176-189.
ภูมรินทร์ ขำมิน. (2562). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรม ถนนคนเดินแม่จัน อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยพะเยา.
มนัส สุวรรณ. (2541). การจัดการการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา. พานิช. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
วิไลพร เสถียรอุดร. (2561). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเกาะเกร็ดจังหวัดนนทบุรี. การค้นคว้าปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ศิริประภา ประภากรเกียรติ. (2562). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว โดยใช้แนวคิดชุมชนเป็นฐาน.วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อนฤมิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ 5 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร. (2565). รูปแบบการพัฒนาพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง (3 จชต.). สืบค้น 21 พฤษภาคม 2566, https://www.isoc5.net/articles /view/395/.
สุจิตราภา พันธ์วิไล และธีรเทพ ชนไมตรี. (2550). ศักยภาพและความต้องการในการวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนในจังหวัดเชียงราย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สุภางค์ จันทวานิช. (2551). ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: วี. พริ้นท์ (1991).
สุภาภรณ์ ประสงค์ทัน. (2556). ทุนทางสังคมกับแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาชาวไทยพวน อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 16(1), 1-11.
สุเชน เลิศวีระสวัสดิ์. (2562). สังคมพหุวัฒนธรรมกับนวัตกรรมในการพัฒนาประเทศไทย. สืบค้น 21 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.nsc.go.th/wp-content/uploads/Journal/article-00209.pdf.
สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. (2565). การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสังคมพหุวัฒนธรรม. สืบค้น 21 พฤษภาคม2566, จาก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG220724093007655.
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 – 2562. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). ราชกิจจานุเบกษา.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. (2561ก). ชุมชนไทยจีน. สืบค้น 21 มกราคม 2566, จาก https://pattaniheritagecity.psu.ac.th.ชุมชนไทย-จีน/ประวัติความเป็นมา/.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. (2561ข). ชุมชนมลายูจะบังติกอ. สืบค้น 21 มกราคม 2566, จาก https://pattaniheritagecity.psu.ac.th.ชุมชนมลายู/ประวัติความเป็นมา/
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. (2561ค). ชุมชนผสมผสาน. สืบค้น 21 มกราคม 2566, จาก https://pattaniheritagecity.psu.ac.th.ชุมชนผสมผสาน/ประวัติความเป็นมา/
สินิทรา สุขสวัสดิ์. (2565). การพัฒนาศักยภาพการทองเที่ยวเชิงพหุวัฒนธรรม ตำบลคลองน้ำใส อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(2), 31-48.
อรรถกร จัตุกูล. (2561). บทบาทของชุมชนในท้องถิ่นต่อการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์ กรณีศึกษาชุมชนวนอุทยานเขากระโดง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 10(1), 1-12.
ฮากีมี เบญจสมิทธิ์. (2561). แนวทางส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพหุวัฒนธรรมในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี. สืบค้น 21 มกราคม 2566, จาก http://www.ba-abstract.ru.ac.th/index.php/ abstractData/viewIndex/307.ru
Bouneaw, J. (2007). The Participatio in Research for Locally. Chiang Mai: Chiang Mai University.
Cohen, J.M., and Uphoff, N.T. (1980). Participations place in rural development: Seeking clarity through specificity. New York: World Developments.
Eber. (1993). Beyond the Green Horizon: Principles for Sustainable Tourism. WWF. :UK.
Hwang, D., William, P. S., and Ko, D.K. (2012). Community Behavior and Sustainable Rural Tourism Development. Journal of Travel Research, 51(3), 328–341.
Kadmanee, C. (2012). Cultural Diversity in a Multi-Culture Society. Bangkok: Ministry of Culture.
Keith, D. D. (1972). Human behavior at workhuman relations and organization behavior. New Planner, 35, 216-224.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.