การนำเสนอกรอบการวิเคราะห์พฤติกรรมลูกค้าและส่วนประสมทางการตลาดในธุรกิจร้านอาหารเกาหลี
คำสำคัญ:
พฤติกรรมลูกค้า, ธุรกิจบริการ, ร้านอาหารเกาหลี, ส่วนประสมการตลาดบริการบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการวิเคราะห์พฤติกรรมลูกค้าและส่วนประสมทางการตลาดในธุรกิจร้านอาหารเกาหลี โดยใช้แนวคิดพฤติกรรมลูกค้าและแนวคิดส่วนประสมทางการตลาดสำหรับธุรกิจบริการ รวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิจากการทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัย บทความวิชาการ และดำเนินการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษานี้นำไปสู่แนวทางการพัฒนาธุรกิจดังกล่าวให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ ทั้งนี้ผู้ประกอบการสามารถนำผลจากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของธุรกิจร้านอาหาร
References
กนกพรรณ สุขฤทธิ์. (2557). ส่วนประสมการตลาดบริการและพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นย่าน Community Mall ของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ, บัณฑิตวิทยาลัย, หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
จิตติกานต์ หลักอาริยะ พรพันธุ์ เขมคุณาศัย อนินทร์ พุฒิโชติ และพรไทย ศิริสาธิตกิจ. (2564). อัตลักษณ์ความเป็นเกาหลีในมิติอาหารการกินของร้านอาหารเกาหลี จังหวัดสงขลา. อินทนิลทักษิณสาร, 16(2), 103-128.
จิตติกานต์ หลักอาริยะ. (2566). อาหารเกาหลีริมทาง: การขายซอฟต์พาวเวอร์ด้านวัฒนธรรมการกินผ่านละครซีรีย์และภาพยนตร์เกาหลี. วารสารฟ้าเหนือ, 16(2), 1-20.
จุฑามาศ พีรพัชระ พัชรนันท์ ยังวรวิเชียร และจอมขวัญ สุวรรณรักษ์. (2566). ธุรกิจร้านอาหาร: สถานการณ์ปัจจุบัน มาตรฐาน และความสำเร็จ. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 25(1), 299-314.
จุฑามาศ พีรพัชระ สมนึก วิสุทธิแพทย์ ธีรวุฒิ บุณยโสภณ ทวีศักดิ์ รูปสิงห์. (2561). รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหาร. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2), 165-176.
เจริญขวัญ วงค์เพ็ญ. (2558). E-Word of Mouth และทัศนคติต่อความจงรักภักดีของผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านอาหารเกาหลีในกรุงเทพมหานคร (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ชวัล เอี่ยมสกุลรัตน์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการบริโภคอาหารนานาชาติของประชากรในกรุงเทพมหานคร (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ชุติภา จันทศร และกิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. (2560). การตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารเกาหลีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. สยามวิชาการ, 18(1), 21-34.
ฌองส์ ฮวัน ซึง. (2557). การเปรียบเทียบภาษาและวัฒนธรรมไทยกับเกาหลี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(11), 297–309.
ณัฎฐณิชา เพชรแก้ว ปริณทิพย์ ภูระโข และเอมีล่า แวอีซอ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลให้ร้านอาหารเกาหลีในจังหวัดภูเก็ตประสบความสำเร็จ. วารสารวิเทศศึกษา, 11(1), 7-13.
ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา. (2565). การตลาดบริการ แนวคิดและกลยุทธ์. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พินทุม รุ่งทองศรี. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการภัตตาคารอาหารเกาหลี บอนชอน ชิคเก้น (BonChon Chicken) ในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย, หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต.
ศศิประภา พันธนาเสวี. (2561). กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างสำหรับธุรกิจบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารสไตล์เกาหลีในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมป์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 7(1), 11–22.
ศิริลักษณ์ ลีลาวิชิตชัย และนาลัน แป้นปลื้ม. (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารเกาหลีของผู้บริโภคร้านโคโค่บี. วารสารเกษตร มสธ., 5(2), 10-19.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2552). การบริหารการตลาด. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาศึกษา.
ศุภลักษณ์ ฉัตรวิเศษ และเอก ชุณหชัชชราชัย. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารหม้อไฟเกาหลีในเขตพื้นที่สยามสแควร์. วารสารบัณฑิตศึกษา, 1(2), 163-169.
เอดเซดเทรด. (2563). กรณีศึกษา ซีรีส์ Itaewon Class ทำให้โคซูจังขาดตลาด. สืบค้น 11 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.accesstrade.in.th.
Kotler, Philip; Keller, Kevin Lane. (2012). Marketing Management (14th ed.). Edinburgh Gate, England: Pearson Education Limited.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.