แนวทางการพัฒนาแหล่งนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว: กรณีศึกษาสวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติศรีนครเขื่อนขันธ์ ตำบลบางกระเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

ผู้แต่ง

  • ชลิต เฉียบพิมาย สาขาวิชานวัตกรรมการบริการ วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • ยี่เถา เหวย สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • สุดสันต์ สุทธิพิศาล สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

คำสำคัญ:

การพัฒนาแหล่งนันทนาการ, นันทนาการเพื่อการท่องเที่ยว, บางกระเจ้า

บทคัดย่อ

     บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แนวทางของการพัฒนาแหล่งนันทนาการ เพื่อการท่องเที่ยวกรณีศึกษาสวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติศรีนครเขื่อนขันธ์ตำบลบางกระเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เป็นกรณีศึกษานำไปสู่การนำเสนอแนวทางการพัฒนาแหล่งนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่และสอดคล้องตามแผนพัฒนานันทนาการแห่งชาติ โดยใช้วิธีการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิจากการทบทวนวรรณกรรม เพื่อศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และแนวคิดและทฤษฎีที่สอดคล้องกับประเด็นที่ทำการศึกษาเพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นที่ศึกษา และการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากการสำรวจศักยภาพของพื้นที่โดยใช้แบบประเมินเป็นเครื่องมือในการศึกษา นำไปสู่การเสนอแนวทางการพัฒนาแหล่งนันทนาการเพื่อการท่องเที่ยวให้แก่สวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติศรีนครเขื่อนขันธ์ ตำบลบางกระเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ประกอบด้วย แนวทางการพัฒนาศักยภาพและมาตรฐานบุคลากรนันทนาการ แนวทางการพัฒนาแหล่งนันทนาการ สถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับนันทนาการให้มีมาตรฐาน แนวทางการบริหารจัดการนันทนาการให้มีมาตรฐาน แนวทางการจัดหาแหล่งทุน/งบประมาณ สนับสนุนภารกิจการพัฒนางานนันทนาการทั้งระบบ และแนวทางการพัฒนากฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการ

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2551). ด้านการกีฬาและนันทนาการ. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.mots.go.th/news/316.

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2563). ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศไทยด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG พ.ศ. 2564-2569. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

กาพย์ประภา สง่าใจ. (2563). กิจกรรมนันทนาการกลวิธีหนึ่งสู่การสูงวัยอย่างมีพลัง. วารสารสังคมภิวัฒน์, 11(2), 1-14.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (มปป.). สวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติ ศรีนครเขื่อนขันธ์. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://thai.tourismthailand.org/Attraction/ สวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติ-ศรีนครเขื่อนขันธ์.

กำโชค เผือกสุวรรณ. (2563). ไกด์/ มัคคุเทศก์ และเกม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570). กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

คณิต เขียววิชัย. (2555). แหล่งนันทนาการเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ช่วยดึงดูดความสนใจนักท่องเที่ยว. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 13(24), 67–74.

เจนณรงค์ สมพงษ์ และวราลักษณ์ คงอ้วน. (2559). บทบาทและการพัฒนาพื้นที่สวนสาธารณะสวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 22(1), 56-69.

ทวีศักดิ์ สว่างเมฆ. (2558). บทบาทของนันทนาการการท่องเที่ยวในการพัฒนาประเทศ. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 21(1), 39-53.

นนทพจน์ เดชะชาติ และวราลักษณ์ คงอ้วน. (2556). แนวทางการพัฒนาพื้นที่สวนสาธารณะเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 17(2), 80-91.

นินนาท คัมภีรยานนท์. (2537). ส 503 สังคมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชย์.

นุชรา แสวงสุข. (2564). การพัฒนารูปแบบการจัดการกิจกรรมนันทนาการ สำหรับการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 13(2), 129-147.

พจนา สวนศรี. (2546). คู่มือการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. กรุงเทพฯ: โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ.

พรมิตร กุลกาลยืนยง. (2564). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในคุ้งบางกะเจ้า. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 9(1), 32-41.

พงศธร เกษสำลี. (2539). วัฒนธรรมกับการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริมนักศึกษาและบริการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เยาวลักษณ์ จันทมาศ และวราลักษณ์ คงอ้วน. (2555). แนวทางพัฒนาสวนสาธารณะในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 15(2), 103-115.

วรรณา วงษ์วานิช. (2539). ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วารัชต์ มัธยมบุรุษ. (2562). โครงสร้างของระบบการท่องเที่ยว. วารสารบริการและการท่องเที่ยวไทย, 14(1), 94-102.

วิพงษ์ชัย ร้องขันแก้ว. (2557). นันทนาการและการบริการชุมชน. กรุงเทพฯ: คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมพงษ์ วราภาสกุล. (2544). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. Life Sciences and Environment Journal, 2(1-2), 51–55.

อุมาพร บุญเพชรแก้ว และอิสระพงษ์ พลธานี. (2562). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศ ป่าชายเลนสิรินาถราชินี อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(5), 175-193.

อุษณีย์ วัชรไพศาลกุล. (2563). แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ในพื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 14(3), 107-119.

Cohen, J.M. , & Uphoff, N.T. (1981). Rural Development Participation: Concept and Measure for Project Design Implementation and Evaluation: Rural Development Committee Center for international Studies. New York: Cornell University Press.

Maneerat, P., & Jaroenwisan, K. (2022). Value Chain Model for Value Addition of Local Ingredients to Gastronomy Tourism’s Activities in Phuket Province. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 5(3), 813–825.

World Tourism Organization. (2013). Sustainable Tourism for Development Guidebook–Enhancing capacities for Sustainable Tourism for development in developing countries. Madrid: UNWTO.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-10