การใช้การวิจัยเชิงคุณภาพยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูลในงานรัฐประศาสนศาสตร์: การทบทวนวรรณกรรมแบบไม่ใช้ระบบ
คำสำคัญ:
การวิจัยเชิงคุณภาพ, ยุทธศาสตร์การวิจัย, การวิจัยแบบการศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูลบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์หกประการคือ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงคุณภาพยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (2) เพื่อศึกษารูปแบบของการวิจัยยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (3) เพื่อศึกษาการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (4) เพื่อศึกษากระบวนการกำหนดรหัสในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (5) เพื่อศึกษาคุณลักษณะจำเพาะห้าประการของการวิจัยยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูล (6) เพื่อศึกษาและนำเสนอแนวทางการนำการวิจัยยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูลมาใช้ในงานรัฐประศาสนศาสตร์ การศึกษาดำเนินการโดยการทบทวนวรรณกรรมแบบไม่ใช้ระบบ ด้วยการสกัดข้อมูลออกมาเรียบเรียงเป็นสาระสำคัญของบทความนี้ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษานำมาสรุปและอภิปรายผลการศึกษานำไปสู่ข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ประสงค์จะดำเนินการวิจัยด้านรัฐประศาสนศาสตร์ได้นำไปพิจารณาใช้ดำเนินการวิจัยในทางรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทยต่อไป
References
กัลยา สร้อยสิงห์, องอาจ นัยพัฒน์ และอรอุมา เจริญสุข. (2565). คุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการใหม่ที่ประสบความสำเร็จในธุรกิจบริการอาหารและเครื่องดื่มในสถานการณ์โควิด-19. วารสารศิลปการจัดการ, 6(4), 1628-1646.
กิตติคุณ แสงนิล, สันติธร ภูริภักดี และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2564). การสร้างคุณค่าร่วมเพื่อความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชน : แนวทางจากทฤษฎีฐานราก. วารสารเกษมบัณฑิต, 22(2), 83-96.
คมกริช นันทะโรจพงศ์ และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2561). การให้ความหมาย ที่มาของความหมาย และกระบวนการเสริมสร้างภาวะผู้นำในตนเองของวัยรุ่นกลุ่มเจเนอเรชั่นซี: การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(3), 1-8.
จอมภัค คลังรหัด, รัชมงคล ทองหล่อ, เพชร พรหมมะ และสิรวิชญ์ ปราณีตพลกรัง. (2562). นวัตกรรมทางธุรกิจของผู้ประกอบการธุรกิจเดอะมูน โฮสเทล: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. Veridian E-Journal, Silpakorn University: Humanities, Social Sciences and Arts, 12(3), 141-155.
จำเนียร จวงตระกูล. (2553). การวิจัยเชิงคุณภาพ: เครื่องมือสร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศ. บริษัทศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด.
จำเนียร จวงตระกูล. (2562). การวิจัยเชิงคุณภาพ: การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 6(2). 148-160.
จำเนียร จวงตระกูล. (2563ก). การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ (บรรณาธิการ). บริษัท ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด.
จำเนียร จวงตระกูล. (2563ข). การออกแบบการวิจัย: ประเด็นจริยธรรมและความน่าเชื่อถือของงานวิจัยเชิงคุณภาพ. บริษัท ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด.
จำเนียร จวงตระกูล. (2565ก). การวิจัยเชิงคุณภาพ: แนวทางการนำไปใช้เพื่อดำเนินการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา. MNJ Supply.
จำเนียร จวงตระกูล. (2565ข). การพัฒนาทุนมนุษย์: กลยุทธ์ที่จำเป็นและสำคัญยิ่งเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน. MNJ Supply.
จำเนียร จวงตระกูล, ตระกูล จิตวัฒนากร, วอนชนก ไชยสุนทร และวรรณภา ลือกิตตินันท์. (2564). มาตรการทางจริยธรรมในการขอรับและการให้ความยินยอมจากผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยในการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์. Journal of HR Intelligence, 16(2), 63-81.
จำเนียร จวงตระกูล และกัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่. (2563ก). การวิจัยแบบผสม: การนำการออกแบบการวิจัยแบบผสมเจ็ดรูปแบบสู่การปฏิบัติ. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 14(1), 1-14.
จำเนียร จวงตระกูล และกัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่ (2563ข). การวิจัยแบบผสม: การนำยุทธศาสตร์การวิจัยแบบผสมทั้งหกรูปแบบสู่การปฏิบัติ. วารสารการบริหารปกครอง (Governance Journal), 9(1), 27- 53.
จำเนียร จวงตระกูล และนวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์. (2562). การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ. PAAT Journal, 2(2), 1-14.
จำเนียร จวงตระกูล, อรรถพล ศิริลัทธยากร, สุชานาถ สิงหาปัด, และปรัชนันท์ เจริญอาภรณ์วัฒนา. (2565). การนำการวิจัยเชิงคุณภาพมาใช้ในงานด้านรัฐประศาสน์ศาสตร์. PAAT Journal, 4(8), 1-20.
จิตตินันท์ พงสุวรรณ, พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์, และกาญจน์สุนภัส บาลทิพย์. (2563). แรงจูงใจในการบริหารจัดการดูแลผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองในระยะยาว ของผู้ดูแลในเขตอำเภอหนึ่งของจังหวัดชายแดนใต้. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 7(2), 85-99.
จิตตินันท์ พงสุวรรณ. (2565). การบริหารจัดการดูแลตนเองและครอบครัวในระยะยาวของผู้ดูแลผู้ป่วย
โรคหลอดเลือดสมองในเขตอำเภอหนึ่งของจังหวัดชายแดนใต้. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health, 9(1), 213-227.
จุมโน ฬึก, ประดิษฐ ศิลาบุตร, พงษ์ศักดิ์ ทองพันชั่ง และสุรศักดิ์ ศรีกระจาง. (2563). การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก: ภาวะผู้นำสถานศึกษาของผู้อำนวยการโรงเรียนดีเด่นในพระราชอาณาจักรกัมพูชา. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 12(2), 173-183.
ชลธิชา ทิพย์ประทุม. (2561). การพัฒนาตัวชี้วัดเจตจำนงสุจริตในการบริหารงานของมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(4), 133-143.
ญานิศา เผื่อนเพาะ และกำธร แจ่มจำรัส. (2565). การให้ความหมาย ที่มาของความหมาย กระบวนการการสื่อสารความหมายคำว่า “เสน่ห์วิถีไทยเมืองกรุงเก่า” ของผู้ประกอบการท่องเที่ยว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 24(3), 175-186.
ฐิติวัจน์ ทองแก้ว และ ประสพชัย พสุนนท์. (2562). การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก: การจัดการสมรรถนะการประกอบอาชีพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการในบริบทของประเทศไทย. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 9(1), 79-94.
ธนัตถ์ภัทร ถิรธนัชดิลก และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2563). องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีในมุมมองของพนักงานขับรถบรรทุกในประเทศไทย: การวิจัยเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 10(2), 175-188.
นฤมล สุภาทอง, สวัสดิ์ โพธิวัฒน์ และสุรัตน์ ดวงชาทม. (2564). ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นเลิศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด, 15(1), 98-109.
นันทนา ชวศิริกุลฑล, ตระกูล จิตวัฒนากร และจำเนียร จวงตระกูล. (2566 ก). การปฏิบัติตามข้อกำหนดการทบทวนวรรณกรรมก่อนดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎี: ศึกษาจากโครงการวิจัยที่ดำเนินการในประเทศไทยปี 2556-2565 ด้วยการศึกษาแบบการทบทวนวรรณกรรมที่ไม่ใช้ระบบ. เอกสารเสนอเพื่อจัดพิมพ์.
นันทนา ชวศิริกุลฑล, ตระกูล จิตวัฒนากร และจำเนียร จวงตระกูล. (2566 ข). การปฏิบัติตามข้อกำหนดคุณลักษณะจำเพาะของการวิจัยเชิงคุณภาพยุทธศาสตร์การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎี: ศึกษาจากบทความวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารฐานดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 17(2). 1-13.
ปริชัย ดาวอุดม, เจษฎา เนตะวงศ์, อัจฉราภรณ์ ทองแฉล้ม, วิมลพรรณ ดาวดาษ และเชิดชาย ชูช่วยสุวรรณ. (2564). รูปแบบการพัฒนาการจัดการศึกษาทางเลือกตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. Journal of Research and Curriculum Development, 11(1), 200-210.
ปรียธิดา ชลศึกเสนีย์ และวรรณภา ศรีธัญรัตน์. (2565). การจัดการของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 15(2), 26-40.
ผลิดา หนุดหละ, กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์ และ พิมพ์พนิต ภาศรี. (2565). การรับรู้เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 42(1), 1-10.
พงษ์พิพัฒน์ สายทอง. (2561). การประยุกต์ใช้ทฤษฎีฐานรากแนวสร้างสรรค์นิยมเพื่อสร้างมโนทัศนศิลป์ ในการออกแบบตัวละครสัตว์หิมพานต์สำหรับงานแอนิเมชัน. Veridian E-Journal, Silpakorn University Humanities, Social Sciences and Arts, 11(3), 914-928.
พรปวีณ์ จันทร์ผ่อง และ ดนีญา อุทัยสุข (2562). กรอบมโนทัศน์ เรื่อง การใช้หลักความเมตตาในการสอนดนตรีไทย ของผู้ช่วยศาสตราจารย์สงบศึก ธรรมวิหาร. Veridian E-Journal, Silpakorn University Humanities, Social Sciences and Arts, 12(6), 1487-1506.
มนสิการ เหล่าวานิช. (2564). กระบวนการพัฒนาศักยภาพคณะนักร้องประสานเสียงไทยสู่มาตรฐานระดับนานาชาติ: การศึกษาโดยวิธีการสร้างทฤษฎีฐานราก. วารสารศรีนครินทรวิโรจน์วิจัยและพัฒนา (สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมสศาสตร์), 13(26), 90-104.
ยุวดี จันทะศิริ. (2564). การจัดการคนคุณภาพของบรรษัทข้ามชาติแบบวัฒนธรรมตะวันตกในประเทศไทย: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีจากข้อมูล. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 18(2), 156-179.
รัชมงคล ทองหล่อ และ ชวนากร เมรินทร์. (2561). การสร้างธุรกิจบนโลกดิจิทัลของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปกร: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฏีฐานราก. Veridian E-Journal, Silpakorn University Humanities, Social Sciences and Arts, 11(2), 3098-3112.
รุ่งศิริ มีแก้ว, วรรณรักษ์ งามแม้น และพิทักษ์ ศิริวงศ์. (2561). การให้ความหมายและกระบวนการทำงานนอกเวลาของนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตเพชรบุรี. Veridian E-Journal, Silpakorn University Humanities, Social Sciences and Arts, 11(2), 2596-2609.
วรรณวิชนี ถนอมชาติ และ สุรพงศ์ คชชา. (2565). แบบจำลองปัจจัยที่ส่งผลให้รูปแบบการปฏิบัติงานของพนักงานที่ทำงานที่บ้าน หรือในที่อื่นที่ไม่ใช่สถานประกอบการปกติขององค์กร (Remote Working) มีประสิทธิภาพ. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University, 9(2), 265-281.
วันทิตา โพธิสาร, สมคิด สร้อยนำ และ เรวณี ชัยเชาวรัตน์, (2563). การบริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศ: การศึกษาทฤษฎีฐานราก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 14(1), 127-138.
สถิร กิจเพ็ชร, ภัทราวดี มากมี, ปริญญา เรืองทิพย์ และ กนก พานทอง. (2565). ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของไทย: เมรุลอย. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 12(2), 397-408.
สลา สามิภักดิ์. (2562). การให้ความหมายของ “คิดเป็น” โดยใช้ทฤษฎีฐานราก. Veridian E-Journal, Silpakorn University Humanities, Social Sciences and Arts, 12(1), 387-403.
อัครา เมธาสุข และ อักษรา ศิลป์สุข. (2564). การอำนวยกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงสำหรับการพัฒนาชุมชนและเมืองแบบสอดประสาน. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 14(3), 140-156.
Aderibigbe, A. M., & Olla, J. O. (2014). Towards a Theoretical Definition of Public Administration. IOSR Journal of Business and Management (IOSR-JBM), 16(3), 65-70.
Birks, M. & Mills, J. (2015). Grounded Theory: A Practical Guide. Sage.
Boa, I., Johnson, P., & King, S. (2010). The Impact of Research on the Policy Process. In Department for Work and Pensions, Working Paper No 82. https://assets.publishing.service.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/207544/wp82.pdf
Charmaz, K. (2006). Constructing Grounded Theory: A Practical Guide Through Qualitative Analysis. SAGE Publication.
Charoenarpornwattana, P., Kerdngern, N., Smith, I. D., & Joungtrakul, J. (2023). Four variations of a grounded theory study in Thailand: A non-systematic literature review. Manuscript submitted for publication.
Creswell, J. W. (1998). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing Among Five Traditions. SAGE Publications, Inc.
Creswell, J. W. (2007). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing Among Five Approaches (2 ed.). SAGE Publications, Inc.
Creswell, J. W. (2013). Qualitative Inquiry and Research Design: Choosing Among Five Approaches (3 ed.). SAGE Publications, Inc.
Creswell, J. W. (2014). Research Design: Qualitative, Quantitative, and Mixed Methods Approaches (4 ed.). SAGE Publications, Inc.
Creswell, J. W., & Plano Clark, V. L. (2007). Designing and Conducting Mixed Methods Research. SAGE Publications, Inc.
Creswell, J. W., & Plano Clark, V. L. (2011). Designing and Conducting Mixed Methods Research (2 ed.). SAGE Publications, Inc.
Creswell, J. W., & Plano Clark, V. L. (2018). Designing and Conducting Mixed Methods Research (3 ed.). SAGE Publications, Inc.
Delve, Ho, L., & Limpaecher, A. (2021). The Practical Guide to Grounded Theory. Practical Guide Grounded Theory Research. https://delvetool.com/groundedtheory
Dhillon, P. (2022). How to write a good scientific review article. The FEBS Journal, 289(13), 3589-3915.
Ermawati, M. A. D. (2020). Analysis of the budget planning process and budget execution process. EJBMR, European Journal of Business and Management Research, 5(4), 1-6.
Glaser, B. G., & Holton, J. (2004). Remodeling Grounded Theory [80 paragraphs], In Forum Qualitative Sozialforschung / Forum Qualitative Social Reseach, 5(2) Art. http//nbn-resolving.de/urn:nbn:de:0114-fqs040245
Glaser, B. G., & Strauss, A. L. (1967). The Discovery of Grounded Theory: Strategies for Qualitative Research. Aldine.
Hamid, W. H., Saman, M. Z. M., & Saud, M. S. (2012). Exploring factors influencing the transfer of training using a grounded theory study: Issues and research agenda. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 56, 662-672.
Hodgkinson, I. R., Hannibal, C., Keating, B. W., Buxton, R. C., & Bateman, N. (2017). Toward a public service management: Past, present, and future directions. Journal of Service Management. https://www.researchgate.net/profile/Ian-Hodgkinson/publication/319989089_Toward_a_public_service_management_past_present_and_future_directions/links/5d232768299bf1547ca1d832/Toward-a-public-service-management-past-present-and-future-directions.pdf?origin=publication_detail
Hsieh, H.-F., & Shannon, S. E. (2005). Three approaches to qualitative content analysis. Qualitative Health Research, 15(9), 1277-1288.
Majumder, K. (2015). 6 article types that journals publish: A guide for early career researchers. https://www.editage.com/insights/6-article-types-that-journals-publish-a-guide-for-early-career-researchers
Makri, C., & Neely, A. (2021). Grounded theory: A guide for exploratory studies in management research. International Journal of Qualitative Methods, 20, 1-14.
McGarry, B. W. (2022). DOD Planning, Programming, Budgeting, and Execution (PPBE): Overview and Selected Issues for Congress. https://crsreports.congress.gov/product/pdf/R/R47178
Muluk, M. R. K., & Winoto, S. (2018). Role of research/ academic in policy formulation. Journal of Applied Management (JAM). 16(2), 285-292.
Shenton, A. (2004). Strategies for ensuring trustworthiness in qualitative research projects.Education for Information, 22(2), 63-75.
Strauss, A., & Corbin, J. (1998). Basic of Qualitative Research: Techiques and Procedures for Developing Grounded Theory (2 ed.). SAGE.
Tie, Y. C., Birks, M. & Francis, K. (2019). Grounded theory research: A design framework for novice researchers. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6318722/
Tseng, V. (2012). The Use of research in policy and practice. Social Policy Report / Society for Research in Child Development, 26(2), 1-24.
van Manen, M. V. (1990). Researching Lived Experience: Human Science for an Action Sensitive Pedagogy. The University of Western Ontario.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 PAAT Journal (วารสารสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.