การปฏิรูปการกระจายอำนาจเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม: กรณีศึกษาราชอาณาจักรกัมพูชา

ผู้แต่ง

  • ซุกเฮียง แมน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • สุกัญญา เอมอิ่มธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

การปฏิรูปการกระจายอำนาจ, การพัฒนาเศรษฐกิจสังคม, ราชอาณาจักรกัมพูชา

บทคัดย่อ

นับเป็นเวลาร่วม 2 ทศวรรษ ที่ราชอาณาจักรกัมพูชาได้ดำเนินการปฏิรูปการกระจายอำนาจจาก ส่วนกลางภาครัฐสู่ระดับท้องถิ่นไปปฏิบัติแต่ความเข้าใจโครงการปฏิรูปการกระจายอำนาจนี้ยังมีข้อจำกัด บทความ เรื่องการปฏิรูปการกระจายอำนาจของราชอาณาจักรกัมพูชานี้ มุ่งนำเสนอสามประเด็นสำคัญได้แก่ 1.สาเหตุของ การกระจายอำนาจของราชอาณาจักรกัมพูชา 2.การปฏิรูปการกระจายอำนาจสู่การพัฒนาเศรษฐกิจสังคม 3. ทิศทางของการกระจายอำนาจในราชอาณาจักรกัมพูชา การเสนอบทความวิชาการนี้เป็นแบบการบูรณาการ ระเบียบวิธีระหว่างการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาชาติและแนวคิดการพัฒนา ระบบประชาธิปไตยแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา จึงแสดงถึงรูปแบบการกระจายอำนาจของราชอาณาจักรกัมพูชาตลอดจนมีการปฏิรูปการบริหารที่มีอย่างต่อเนื่อง ในด้านกระจายอำนาจที่มีการสอดคล้องกับระบบประชาธิปไตย ภายใน ประเทศได้อยู่ในครอบงำภายใต้ภาษิตของชาติว่า ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ที่มีการนับถือพระพุทธศาสนาและมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุขของรัฐจึงได้ขนานนามประเทศว่าราชอาณาจักรกัมพูชา (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรกัมพูชามาบทที่ 1 มาตรา 4, 1993) นอกจากนั้นจะนำเสนอแนวคิดและทิศทางการ กระจายอำนาจสำหรับรูปแบบของราชอาณาจักรกัมพูชาที่มีจุดมุ่งหมาย ในการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจที่กำลัง พัฒนาให้กลายเป็นประเทศที่มีรายได้สูงระดับกลางในปี ค.ศ.2030 และจะเป็นประเทศพัฒนาในปี ค.ศ.2050 ตามลำดับ

References

กระทรวงมหาดไทย (2019). การบริหารเมืองแบบการกระจายอำนาจ การจัดระบบบริหารในกัมพูชาแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา.

กระทรวงมหาดไทย (2019). การบริหารเมืองแบบการกระจายอำนาจ การปฏิรูปการกระจายอำนาจแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา.

กฎของการบริหารภาครัฐระดับตำบลและแขวง (2001), โครงสร้างการบริหารตำบล สังกัดบทที่3 มาตรา 31 รัฐบาลแห#งราชอาณาจักรกัมพูชา.

คำแนะนําเลข 02 (2018). การส่งเสริมการดำเนินการกระจายอำนาจ ของรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา รัฐธรรมนูญ (1993) บทที่ ๑ มาตราที่ ๔, แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา.

รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา (2006). กฎหมายการเลือกตั้งสภาตำบล สังกัดมาบทที่ 1 มาตรา 1 ถึง 3 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา.

รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา (2009). กฎหมายการเลือกตั้งสภาราชธานี สภาจังหวัด สภาเมือง/กรุง สภาอำเภอ สภาแขวง มาบทที่ 1 มาตรา 1 ถึง 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา.

สมเด็จ ฮุน แซน (2021). คํานําของขอบเขตหลักนโยบายเศรษฐกิจ และสังคมดิจิทัลกัมพูชา รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา.

สุมามาลย์ ชาวนา (2011). การกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นญี่ปุ่น, จดหมายข่าวสถาบันพระปกเกล้า, ปีที่ 12 ฉบับที่ 6 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 ,หน้า 7.

Aleksander Moisiu (2014). Decentralization and the Increased autonomy in Local Governments Published by Elsevier Ltd.

Japan International Cooperation Agency (JICA) (2001). Government Decentralization Reforms in Developing Countries Institute for International Cooperation.

Kevin Ponniah, (2018). Timeline A chronology of key events, BBC News Cambodia profile Published: 28 July 2018.

Ministry of Interior (2008). Situational Analysis of Provincial/Municipal and District/Khan Administration in Cambodia, Royal Government of Cambodia.

NCDD (2020). แนวทางการพัฒนาการบริหารส่วนท้องถิ่นตามหลักประชาธิปไตย เป็นระยะที่สอง รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา.

Royal Kram (2001). Administrative Management of the district Sangkat, Monarchy of Kingdom of Cambodia.

Royal Government of Cambodia (2004). Review of Decentralization Reform in Cambodia: Policy and Practices, The National Committee for Support to Communes (NCSC).

Tariq H. Niazi (2011). Deconcentrating and Decentralization Reform in Cambodia, Asian Development Bank (ADB).

United Nations (2003). the Peace and Security Section of Department of Public Information (DPI) in cooperation with the Department of Peacekeeping Operations.

World Bank (2021). The World Bank in Cambodia, https://www.worldbank.org/en/country/cambodia/overview

World Bank (2021). country and lending group, Source: https://datahelpdesk.worldbank.org/knowledgebase/articles/906519-world-bank-country-and-lending-groups

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-13

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ