ฉากทัศน์การพัฒนาสู่การปกครองในรูปแบบดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ยุทธพงษ์ จักรคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • สมศักดิ์ ศรีสันติสุข คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

ฉากทัศน์, การพัฒนา, รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์, การปกครองในรูปแบบดิจิทัล

บทคัดย่อ

ฉากทัศน์ในอนาคตมีแนวโน้มที่จะเกิดพลวัตการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการบริหารจำเป็นจะต้องมีการปรับเปลี่ยนจากวิธีเดิมและมุ่งใช้เทคโนโลยีเข้ามาดำเนินการแทน (Transformation) เพื่อนำไปสู่การปกครอง ในรูปแบบดิจิทัลที่พัฒนานวัตกรรมการบริหารและการให้บริการแบบใหม่ ซึ่งกระแสของการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption) มีผลต่อการให้บริการและการดำเนินธุรกรรมต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการดำเนิน ชีวิตของประชาชน และการประกอบกิจการต่าง ๆ อย่างก้าวกระโดมากยิ่งขึ้น การปรับเปลี่ยนการดำเนินงานของภาครัฐเพื่อให้บริการประชาชนถือเป็นความท้าทายอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานขององค์กรต่าง ๆ เพื่อการขับเคลื่อนองค์กร สร้างคุณค่าสาธารณะสู่ประชาชน โดยอาศัยระบบนิเวศของการปกครองในรูปแบบดิจิทัล (Digital Government Ecosystem) ซึ่งต้องพึ่งพาทุกภาคส่วนควบคู่กัน บทความนี้มุ่งศึกษาถึงพัฒนาการการปรับเปลี่ยนการบริหารงาน โดยมองฉากทัศน การพัฒนาสู่การปกครองในรูปแบบดิจิทัลในอนาคต เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผันที่ ภาครัฐได้รับผลกระทบจากเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นมา อาทิ การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ เทคโนโลยีเคลื่อนที่สื่อสังคมออนไลน์ปัญญาประดิษฐ์และทุกสิ่งเป็นอินเทอร์เน็ต ทำให้หน่วยงานภาครัฐเปลี่ยน กระบวนทัศน์ในการประยุกต ใช้เทคโนโลยีในการบริหาร การให้บริการสังคมตามมา นำไปสู่การกำหนดนโยบาย เพื่อให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน

References

กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์. (บรรณาธิการ). (2564). การบริหารภาครัฐโฉมใหม่ในยุคแห่งความพลิกผัน.

ขอนแก่น: วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กัณญาณัฐ เสียงใหญ่. (2558). แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ สู่การแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(2), 1-16.

ดังภูมิ. (2564). วิวัฒนาการบริการรัฐ จากรัฐบาล 1.0 ถึง รัฐบาล 4.0 และ กําลังจะก้าวสู่รัฐบาล 5G. สืบค้น เมื่อ 1 กันยายน 2564, จาก https://esarabun.com/govern-services-evolution/

ทนงศักดิ์ เหมือนเตย. (2563). รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส-ไทย : ความหมายที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาการ. อินทนิล ทักษิณสาร, 15(2), 129-152.

ประสบโชค ประมงกิจ. (2549). คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม>ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี : รูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. (พิมพ-ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สหมิตรพริ้นติ้ง.

ปริญญ์ บุญดีสกุลโชค. (2559). ระบบราชการไทยในบริบท ไทยแลนด; 4.0. เอกสารประกอบการบรรยายสํานักงาน ก.พ. วันพุธที่ 14 ธันวาคม 2559 ณ ห้องประชุม 3 อาคารสํานักงาน ก.พ. กรุงเทพฯ: สํานักงาน ก.พ.

เรวัต แสงสุริยงค-. (2562). บนเส้นทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในสังคมไทย: ยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(55), 294-317.

สํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. (2560). แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: โบลลิเกอร์ แอนด์ คอมพานี.

ผู้จัดการออนไลน์. (2563, พฤศจิกายน). รัฐบาลประกาศแผนเปิดบริการ “ดิจิทัลภาครัฐบนแพลตฟอร;มเดียว”

ภายในปี 2566. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2564, จาก https://mgronline.com/cyberbiz/detail/9630000121863

สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2558). การบริหารจัดการภาครัฐ: รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

โสมวลี ชยามฤต. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย-เพื่อรองรับยุคดิจิทัลขององค-การภาครัฐและเอกชน. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 38-50.

อาภรณ์ คุระเอียด. (2562). การประยุกต์ใช้รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส-ในการให้บริการภาครัฐ. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 11(1), 191-208.

Alcaide–Muñoz, L., Rodríguez–Bolívar, M. P. et al. (2017). Analyzing the scientific evolution of eGovernment using a science mapping approach. Government Information Quarterly,

, 545–555.

Alves, H. (2013). Co-creation and innovation in public services. The service industries journal,

(7-8), 671-682.

Barlow, J. P. (1996). Declaration of the Independence of Cyberspace. Davos.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-13

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ