ประสิทธิภาพของดนตรีเพื่อสุขภาวะทางอารมณ์ในช่วงวิกฤต COVID-19 ประชาชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพของดนตรี, สุขภาวะทางอารมณ์, วิกฤต COVID-19บทคัดย่อ
ประสิทธิภาพของดนตรีเพื่อสุขภาวะทางอารมรณ ในช่วงวิกฤต COVID-19 ประชาชนที่อาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นพฤติกรรมดนตรี การรับรู้ข่าวสารและสุขภาวะทางอารมณ์ (2) ศึกษาความแปรปรวนสุขภาวะทางอารมณ์ จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ อาศัยในพื้นที่เสี่ยงและการขาดรายได้ (3) ศึกษาระดับอิทธิพลพฤติกรรมดนตรีและการรับรู้ข่าวสารที่ส่งผลต่อสุขภาวะทางอารมณ์ เก็บข้อมูล 320 กลุ่มตัวอย่างประชากรในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลด้วยช่องทางออนไลน์ ตั้งแต่วันบริหารราชการในสถานการณ ฉุกเฉิน 20 กรกฎาคม-3 สิงหาคม 2564 วิเคราะห์ข้อสมมติฐานด้วยแบบจำลอง สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วยโปรแกรมสถิติ ADANCO พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 61 เป็นผู้หญิงอายุระหว่าง 35-54 ปีร้อยละ 24.85 การศึกษาปริญญาตรีร้อยละ 45 อาชีพธุรกิจค้าขายร้อยละ 29.40 รายได้เฉลี่ยเดือน 50,001 บาทขึ้นไปร้อยละ 26.90 ช่วงวิกฤต COVID-19 อาศัยอยู่กับครอบครัวร้อยละ 78.80 ขาดรายได้ร้อยละ 56.30 (2) ความคิดเห็นพฤติกรรมดนตรีการฟังเพลง ร้องเพลงและเล่นดนตรีมีความสัมพันธ์กับด้านอารมณ์ในการทำงานค่าเฉลี่ยระดับสูง 3.98 การรับรู้ข่าวสารสวมอุปกรณ์ป้องกัน หลีกเลี่ยงไปในพื้นที่เสี่ยงและติดตามข่าวของศบค ค่าเฉลี่ยระดับสูง 4.33 และสุขภาวะทางอารมณ์ ความคิดเห็นระดับปานกลางค่าเฉลี่ย 3.61-3.66 (3) เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ อาศัยในพื้นเสี่ยงและขาดรายได้มีความคิดเห็นเรื่องสุขภาวะทางอารมณ์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและ (4) พฤติกรรมดนตรีและการรับรู้ข่าวสารร่วมกันมีอิทธิพลทางตรงแลละทางอ้อม ต่อสุขภาวะทางอารมณ์ ร้อยละ 59.30 มีผลกระทบขนาดใหญ่ (f2,0.35) และการรับรู้ข่าวสารมีอิทธิพลทางตรงต่อ พฤติกรรมดนตรีร้อยละ 19.70 มีผลกระทบขนาดกลาง (f 2, 0.15)
References
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2560). เขตปริมณฑล. เข้าถึงได้จาก http: www. statbora.dopa.go.th/ state/y_state9htm, สืบค้น 27 กรกฎาคม 2560.
กันตพัฒน์ อนุศักดิ์เสถียร. (2564). รู้เอาไว้กับวิธีเสพข่าวโควิด-19 เพื่อที่เราจะได้ไม่วิตกกังวลเกินไปกับสถานการณ์. เข้าถึงได้จาก https//:www.nu.ac.th/p=27139. สืบค้น 27 กรกฎาคม 2564.
ธนาคารแห#งประเทศไทย. (2564). รายงานเศรษฐกิจและการเงินเดือนมกราคม 2564. เข้าถึงได้จาก https//:www.bot.or.th/thai/monetaryPolicy/EconomicCondition/PressRelease/Piges. สืบค้น 26 กรกฎาคม 2564.
ประกาศก.บ.ศบ.เรื่องมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019.( 2564, 18 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ฉบับ 28.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ. (2550, 3 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 127 ตอน 22 ก หน้า 1
แพรศิริ อยู่สุข และจิราพร เกศพิชญวัฒนา.(2560). ผลของการบําบัดทางการพยาบาลโดยใช้กิจกรรมดนตรีต#อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคหลอดลมเลือดสมองชนิดขาดเลือด. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 27(1): 17-27.
มนตรี พิริยะกุล. (2562). การกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างสําหรับการวิเคราะห(แบบสมการโครงสร้าง. [เอกสารสัมมนาทางวิชาการ 22 ธันวาคม 2562, ว.ช]. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
ศศิธร พุมดวง. (2548). ดนตรีบําบัด. สงขลานครินทร์เวชสาร, 23(3): 186-191.
สุกัญญา เอกปัญญาสกุล. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความวิตกกังวลจากการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับ โควิด-19 ในประชากรเขตกรุงเทพมหานคร. เข้าถึงได้จาก https//:www.mmm.ru.ac.th/MMM/iS/twin-8/6114154005. สืบค้น 29 สิงหาคม 2564.
สุภีดา โกเมนไทย. (2560). ผลของดนตรีต่อคุณภาพการนอนหลับของผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหนัก. (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
สํานักประชาสัมพันธ์ สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2561).กลยุทธ์ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการใชเฟสบุ๊ค. เข้าถึงได้จาก https//:www.senate.go.th/assets/portals/49/files/handbook/km.pdf. สืบค้น 3กันยายน 2564.
สุวิมล ติรกานันท์. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร(:แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อานันท์ นาคคง. (2563). วิกฤติ COVID-19 ผลกระทบต่อสังคมดนตรีของไทย. เข้าถึงได้จาก https//:www.bangkoklifenews.com. สืบค้นวันที่ 20 สิงหาคม 2564.
อารียา โตสุข และจารุวรรณ สุริยวรรณ. (2564). ผลกระทบต่อธุรกิจดนตรีจากการแพร่ระบาดโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา-2019. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการวิจัยและงานสร้างสรรค์, 8(1): 274-301
อัญชลี ชุ่มบัวทอง, จันทนา ยิ้มน้อย และชษาพิมพ์ สัมมา. (2560). ดนตรีบําบัด. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 3(2): 77-87.
Adams, T., Bezner, J., & Steinhardt, M. (1997). The conceptualization and measurement of perceived wellness: Integrating balance across and with in dimensions. American Journal of Health Promotion,11(3),208-18.
Brand Buffet. (30 กันยายน 64). เผย Insight “ พฤติกรรมคนไทย” 4 เจเนอเรชั่นที่เปลี่ยนไปจากโควิด-19. เข้าถึงได้จาก https//:www.brandbuffet.in.th>2020/09>far-east.com. สืบค้นวันที่ 5 กันยายน 2564.
Buck, W. K., Hartsack, J., & Gaffney, J. (1985). Music therapy. In. G.M. Bulecheck & J. C. McCloskey Nursing intervention: Treatments for nursing diagnosis. Philadelphia: W.B. Saunders.
Cochran, W. (1942). Sampling theory when the sampling-units are of unequal size. Journal of the American Statistical Association. 37(218): 199-212.
Cohen, J. (1988). Statistic Power Analysis for the Behavioral Science. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Fullana, M., Hidalgo-Mazzei, D., Vieta, E., & Radua, J. (2020). Coping behaviors associated with decreased anxiety and depressive symptoms during the COVID-19 pandemic and lockdown. J Affect Disord.275 ; 80-81, Doi:10.1016 jad.2020.06.027.
Giordano, F. , Scarlata, E. & Baroni, M. (2020). Receptive music therapy to reduce stress and improve wellbeing In Italian clinical staff involved in COVID-19 pandemic: a preliminary study. Arts Psychother 70: 101688.doi:10.1016/aip.2020.101688
Georgiev, D. (1991). Photons do collapse in the retina not in the brain cortex: evidence from visual illusions. Neuro Quantol, 9(2): 206-230.
Granot, R.,Spitz, D., Cherki, B., Loui, P., Timmers, R., & Schacfer, R. (2021). Help I need somebody, music as a Global resource for obtaining wellbeing goals in times of crisis. Front Psychol.12(4), 1-22.
Hair, J., Ringle, C. & Sarstedt, M. (2013). Patrial least squares structural equation modeling: Rigorous applications Better result and higher acceptance. Long Range Planning Journal, 46(1-2):1-12.
Henseler, J., Hubona, G. & Ray, A. (2016). Using PLS Path Modeling in New Technology Research: Updated Guidelines. Industrial Management & Data System, 116(1), 2-20.
Huang, Y., & Zhao, N. (2020). Generalized anxiety disorder depressive symptoms and sleep quality during COVID- 19 outbreak in China: A web-based cross-sectional survey. Psychiatry Research. (Online). Available: http://www.pubmed.ncbi-nlm.gov/32325383.
Hulland, J. (1999). Use of Partial least Squares (PLS) in Strategic Management Research: A Review of Four Recent Studies. Strategic Management Journal, 20(4) : 195-204
Hussein,N., Naqid, I.,Jacksi, K & Abdi, B. (2020). Assessment of knowledge, attitudes and practices toward COVID-19 virus among university students in Kurdistan region, Iraq. Journal of Family Medicine and Primary Care, 9(9), 4809-4814.
Justo-Alonso, A., Garcia-Dantas, A.,Gonzalez-Vazquez, A.,Sanchez-Martin, M.,& Rio-Casanova, L. (2020). How did different generations cope with the COVID-19 pandemic Early stages of the pandemic in Spain. Psicothema 32 : 490-500.doi: 10.7334/psicothema2020.168.
Man Chong Leung & Cheung Rebecca. (2020). Music engagement and well-being in Chinese adolescents: emotional awareness positive emotions and negative emotional as mediating processes. Psychology of music, 48(1): 105-119.
Osman,S, Tischler, V. & Schneider, J. (2016). Singing for the brain: A qualitative study exploring the health and well-being benefits of singing for people with dementia and their careers. Dementia, 15(6):1326-1339.
Pang, A., Jin, Y. and Cameron, G. 2007. Building an Integrated Crisis Mapping (ICM) Model: Organizational Strategies for a Public – Driven, Emotion – Based Conceptualization in Crisis Communication. Paper presents at the Conference of the Association of Education in Journalism and Mass Communications, Washington, DC.
PPTV, online. (2564). “เปิดช่วงอายุโรคประจําตัวเสี่ยงเสียชีวิตโควิด-19”. เข้าถึงได้จาก http//:www.pptvhhd36.com.
Robbins, S. (2013). Organizational behavior. Boston: Pearson Press.
Sandin, B.,Valiente, R., Garcia-Escalera, J. & Chorot, P.(2020). Psychological impact of the COVID - 19 pandemic: Negative and positive effects in Spanish people during the mandatory national quarantine. Rev. Psicopatol Psicol.Clin 25., 1-22 doi:10.5944/RPPC.27569.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.