ทางเลือกที่น่าสนใจต่อการแก้ไขปัญหาการกระจายอำนาจของท้องถิ่นไทยในภาพรวม

ผู้แต่ง

  • มณีชัชวาล มณีศรี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

คำสำคัญ:

ทางเลือกที่น่าสนใจ, ปัญหาการกระจายอำนาจ, การปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

การศึกษา เรื่อง “ทางเลือกที่น่าสนใจต่อการแก้ไขปัญหาการกระจายอำนาจของท้องถิ่นไทยใน ภาพรวม” เนื่องจากการปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทย ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองที่มีความใกล้ชิดกับ ประชาชนมากที่สุด ควรจะมีการกระจายอำนาจในทุกๆ มิติที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม ในทางตรงกันข้าม การกระจายอำนาจดังกล่าวกลับเป็นเพียงแต่ความเข้าใจว่า เป็นการสร้างให้ท้องถิ่นเกิดความชอบธรรมตาม หลักการกระจายอำนาจเท่านั้น แต่มิได้มีการกระจายอำนาจในทุกๆ มิติอย่างแท้จริง

โดยบทความนี้นําเสนอถึงปัญหาของการกระจายอำนาจของท้องถิ่นไทยในภาพรวม ที่รวบรวม จากตํารา บทความ และสื่อออนไลน์ต่างๆ ซึ่งการแก้ไขปัญหาการกระจายอำนาจที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันยังไม่ เป็นรูปธรรม และยังมีความซับซ้อนของปัญหาจำนวนมาก เช่น ปัญหาด้านการบริหารงาน ปัญหาด้านการ บริหารการเงินการคลัง และความล่าช้าในการกระจายอำนาจ ฯลฯ จึงเป็นเรื่องที่ต้องอาศัยความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมกันแก้ไขปัญหา ดังนั้น ผู้เขียนจึงเสนอแนะทางเลือกที่น่าสนใจต่อการแก้ปัญหาการ กระจายอำนาจของท้องถิ่นไทยในภาพรวม โดยการนําตัวแบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaborative Governance) ซึ่งมีความน่าสนใจในการนํามาประยุกต์ใช้กับการแก้ไขปัญหาการกระจาย อำนาจของท้องถิ่นไทยในภาพรวม ให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น 

References

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านการกระจายอำนาจ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.lrct.go.th/th/ (20 มิถุนายน 2558).

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2561). ราชการส่วนท้องถิ่น (ประเทศไทย). (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา :http://www.dla.go.th/.

ฉัตรทิพย์ ชัยฉกรรจ์ .(2560). การจัดการปกครองแบบประสานความร่วมมือ (collaborative governance) : แนวคิด วรรณกรรมคัดสรรและคําสำคัญ. ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2560.

โชคสุข กรกิตติชัย (2560) ทิศทางการปกครองส่วนท้องถิ่นตามรัฐธรรมนญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สืบค้น 20 กุมภาพันธ์ 2563 จาก https://library2.parliament.go.th/ebook/contentissue/2560/hi2560-057.pdf

ณัฐกร วิทิตานนท์, 10 ปี การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น(พ.ศ.2543-2552): ฤาการเดินทางเพื่อกลับมา “หยุด” ตรงจุดเดิม สืบค้น 14 มิถุนายน 2564 จาก https://prachatai.com/journal/2010/10/31342

ไทยรัฐฉบับพิมพ์.เหตุที่ไม่กระจายอำนาจ. วันที่ 30 กรกฎาคม 2561. https://www.thairath.co.th/news/politic/1343701

นภาจรี จิวะนนท์ประวัติ. (2557). การปกครองท้องถิ่น-ประชาธิปไตยใกล้มือประชาชน. สืบค้น 8 สิงหาคม 2560 จาก http://118.174.12.141/document/documents/documents/Individual_Study_162.pdf

ปัณณธร เธียรชัยพฤกษ์, ทิศทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในอนาคต, 2561

ประเมินผลการกระจายอำนาจของไทยระยะ 15 ปี : เหลียวหลังและมองไปข้างหน้า.สำนักข่าวอิศรา. https://www.isranews.org/thaireform-other-news/31824-weerasak.html

ภิรมย์พร ไชยยนต์ , การกระจายอำนาจการปกครองท้องถิ่น: ศึกษากรณีการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในระดับจังหวัด, 2557, น.1-2

“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540” (11 ตุลาคม 2540). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 114 ตอนที่ 55 ก, น. 73-76.

“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550” (24 สิงหาคม 2550). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 124 ตอนที่ 47 ก, น. 22-23, 112-116, 124.

“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560” (6 เมษายน 2560). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก, น. 19-20, 67-70.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. (2558). ทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทย (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.trf.or.th.รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการศึกษาวิจัยเพื่อติดตามและประเมินผลการกระจายอำนาจของไทย. จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.วันที่ 8 สิงหาคม 2557.

วุฒิสาร ตันไชย. (2557). การกระจายอำนาจและประชาธิปไตยในประเทศไทย.กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

วุฒิสาร ตันไชย. (2544) การกระจายภารกิจหน้าที่ไปสู่องค์กรปกครองสวนท ่ ้องถิ่นยุคใหม่. สืบค้น 20 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://www.local.moi.go.th/webst/botfam1.htm

วสันต์ เหลืองประภัสร์ และคณะ. (2557). “การศึกษาและรวบรวมตัวอย่างการบริหารจัดการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaborative Governance) ระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคมและชุมชน”. รายงานวิจัย เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ (สสส.). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมคิด เลิศไพฑูรย์. (ม.ป.ป.). ประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้น 4 ธันวาคม 2560 จาก http://wiki.kpi.ac.th

สิวาพร สุขเอียด. (ม.ป.ป.). การปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้น 4 ธันวาคม 2560 จาก http://wiki.kpi.ac.th

สยามรัฐออนไลน์. วันที่ 15 กรกฎาคม 2563. https://siamrath.co.th/n/158888

สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ. รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550. http://www.oic.go.th/

Collaborative Governance in Theory, and Practice Chris Ansell & Alison Gash University of California, Berkeley. Journal of Public Administration Research and Theory Advance Access published November 13, 2007

Vangen, S., & Huxham, C. (2010). Introducing the Theory of Collaborative Advantage. In S. Osborne (Ed.), New Public Governance: Emerging perspectives on theory and principle of public governance (pp. 163-184). New York: Routledge

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-12

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ