การนําเสนอและการแสดงข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ
คำสำคัญ:
การนําเสนอข้อมูล, การแสดงข้อมูล, การวิจัยเชิงคุณภาพบทคัดย่อ
ข้อมูลถือว่าเป็นส่วนที่สำคัญอย่างยิ่งของการวิจัย การนําเสนอและการแสดงข้อมูลที่ดีจะช่วยดึงดูดความสนใจจากผู้อ่านหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวิจัยทุกกลุ่ม รวมทั้งผู้ทําหน้าที่พิจารณาอนุมัติให้ทุนสนับสนุนการวิจัยหรือผู้ว่าจ้างให้ดำเนินการวิจัยวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการวิจัยเชิงคุณภาพที่ต้องใช้ข้อมูลที่มีความหลากหลายอีกทั้งแหล่งที่มาของข้อมูลก็มีความหลากหลาย เช่น จากการสัมภาษณ์ หรือการสังเกต และโสตทัศนูปกรณ์รวมทั้งข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ อีกด้วย การนําเสนอและการแสดงข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพจึงจำเป็นต้องใช้กลยุทธ์หรือวิธีการที่แตกต่างออกไป บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาแนวคิดและกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการนําเสนอและการแสดงข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อเพิ่มเติมทางเลือกให้แก่นักวิจัยที่สนใจการวิจัยเชิงคุณภาพได้นําไปใช้ในการนําเสนอและแสดงข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพในโครงการวิจัยของตนตามความเหมาะสมต่อไป
References
จําเนียร จวงตระกูล. (2560). การออกแบบการวิจัยภาคปฏิบัติ: การศึกษาจากบทความวิจัยในวารสารวิชาการในประเทศไทย. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์. 4 (2). 172-206.
จําเนียร จวงตระกูล. (2563).การออกแบบการวิจัย: ประเด็นจริยธรรมและความน่าเชื่อถือของงานวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด.
จําเนียร จวงตระกูล และ นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์. (2562). การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ: PAAT Journal 2(2). 1-14.
Chenail, R. J. ( 1995) . Presenting Qualtative Data. The Qualitative Report, 2( 3) , 1-9. Online available at: https://nsuworks.nova.edu/tqr/vol2/iss3/5: retrieved 3 May 2020.
Creswell, J. W. (2009). Research Design: Qualitative, Quantitative, and Mixed Methods Approaches (3 ed.). Los Angeles: SAGE.
Creswell, J. W. (2013). Qualitative Inquiry & Research Design: Choosing Among Five Approaches (3 ed.). Thousand Oaks, California: SAGE.
Creswell, J. W., & Plano Clark, V. L. (2018). Designing and Conducting Mixed Methods Research (3 ed.). Los Angeles: SAGE Publications, Inc.
Elo, S., & Kyngas, H. (2008). The qualitative content analysis process. Journal of Advanced Nursing, 62, 107-115.
Erlingsson, C., & Brysiewicz. (2017). A hands-on guide to doing content analysis. African Journal of Emergency Medicine, 7, 93-99.
Giorgi, A. (Ed.) (1985). Phenomenology and Psychological Research. Pittsburgh, PA: Duquesne University Press.
Hsieh, H-F., & Shannon, S. E. (2005). Three Approaches to Qualitative Content Analysis. Qualitative Health Research, 15(9), 1277-1288.
Marshall, C., & Rossman, G. B. (1999). Designing Qualitative Research (3rd ed.). Thousand Oaks, California: Sage.
Moustakas, C. (1994). Phenomenological Research Methods. Thousand Oaks: Sage.
Nang, R. N., Monahan, F., Diehl, G. B., & French, D. (2015). A Qualitative Content Analysis of Global Health Engagements in Peacekeeping and Stability Operations Institute's Stability Operations Lessons Learned and Information Management System. Military Medicine, 180(4), 409-418.
QuestionPro. ( 2020) . Qualitative Data- Definition, Types, Analysis and Examples. Online available at: https://www.questionpro.com/blog/quantitative-data/: retrieved 24 August 2020.
Reay, T., Zafar, A., Monteiro, P., & Glaser, V. . (2019). Presenting Findings from Qualitative Research: One Size Does Not Fit All! Research in the Sociology of Organizations, 2019, 201-216.
Terrell, S. R. (2012). Mixed-Methods Research Methodologies. The Qualitative Report, 17(1), 254-280.
Verdinelli, S., & Scagnoli, N. (2013). Dara Display in Qualitative Research. International Journal of Qualitative Methods, 12, 359-381.
Zhang, Y., & Wildemuth, B. M. (2009). Qualitative analysis of content. In B. M. Wildemuth (Ed.), Applications of Social Research Methods to Questions in Information and Library Science (pp. 297-307). Westport, CT: Libraries Unlimited.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.