การวิเคราะห์เนื้อหาในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ

ผู้แต่ง

  • จําเนียร จวงตระกูล Far East University, South Korea
  • นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

คำสำคัญ:

การวิจัยเชิงคุณภาพ, การวิเคราะห์เนื้อหา, การวิเคราะห์เนื้อหาแบบดั้งเดิม, การวิเคราะห์เนื้อหาแบบกําหนดทิศทางล่วงหน้า, การวิเคราะห์เนื้อหาแบบสรุปความ

บทคัดย่อ

วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพมีความแตกต่างจากการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิง ปริมาณ เนื่องจากการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา แม้ว่าการวิเคราะห์เนื้อหาจะเป็นวิธีการที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณบางรูปแบบ แต่การวิเคราะห์เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพนั้นมีความหลากหลายและมีหลายวิธีที่มีความแตกต่างจากการวิเคราะห์เนื้อหาแบบการวิจัยเชิงปริมาณ อีกทั้ง โปรแกรมสําเร็จรูปที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพก็มีความแตกต่างจากโปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงบริมาณเช่นกัน เนื่องจากในปัจจุบันนี้ชุมชนนักวิจัยไทยและสังคมไทย ซึ่งรวมทั้งสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวิจัยได้ ให้ความสนใจในการวิจัยเชิงคุณภาพมากขึ้นจึงจําเป็นต้องใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกันเนื่องจาก หนังสือ ตํารา บทความ และ เอกสารต่าง ๆ เกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพที่ตีพิมพ์เป็นภาษาไทยยังมีจํานวนไม่มากนัก จึงเป็นแรงบันดาลใจให้คณะผู้เขียนมีความสนใจที่จะศึกษาและเขียนบทความนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเสนอ แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เนื้อหาในการวิจัยเชิงคุณภาพ รวมทั้งวิธีการและกระบวนการในการวิเคราะห์เนื้อหาใน การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจนําไปพิจารณาใช้ในการดําเนินการวิจัยเชิงคุณภาพใน โครงการวิจัยของตนตามที่เหมาะสมต่อไป

References

จําเนียร จวงตระกูล. (2562). การวิจัยเชิงคุณภาพ: การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 6(2), 148-160.

พินโย พรมเมือง. (มปป.). การใช้ Atlas.ti สําหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ. ออนไลน์. สืบค้นจาก: https://www.academia.edu/34732882: เมื่อ 14 เมษายน 2563.

Assarroudi, A., Nabavi, F. H., Armat, M. R., Ebadi, A., & Vaismoradi, M. (2018). Directed qualitative content analysis: the description and elaboration of its underpinning methods and data analysis process. Journal of Research in Nursing. doi: https://doi.org/10.1177/1744987117741667

Boettger, R. K., & Palmer, L. A. (2010). Quantitative Content Analysis: Its Use in Technical Communication. IEEE Transactions on Professional Communication, 53 (4), 346-352.

Bogetz, A., Abramson, E., Haftel, H., Klein, M., Li, S-U., Michelson, K., and Simpkin, A, (2017). Codes, concepts and categories, oh my! Building your skills in qualitative data analysis. Association of Pediatric Program Directors, Anaheim, 2017. Online available at: https://www.appd.org/meetings/2017SpringPresentations/WS10Slides.pdf retrieved 20 March 2020.

Elo, S., & Kyngas, H. (2008). The qualitative content analysis process. Journal of Advanced Nursing, 62, 107-115.

Erlingsson, C., & Brysiewicz, P. (2017). A hands-on guide to doing content analysis. African Journal of Emergency Medicine, 7(3), 93-99.

Hamad, E. O., Savundranayagam, M. Y., & Johnson, A. M. (2016). Toward a Mixed-Methods Research Approach to Content Analysis in The Digital Age: The Combined ContentAnalysis Model and its Applications to Health Care Twitter Feeds. J Med Internet Res. 18 (3), 1-50.

Hsieh, H-F., & Shannon, S. E. (2005). Three Approaches to Qualitative Content Analysis. Qualitative Health Research, 15(9), 1277-1288.

Krippendorff, K. (2004). Content Analysis: An Introduction to Its Methodology. Thousand Oaks: Sage Publications, Inc.

Mayring. (2000). Qualitative Content Analysis. Forum: Qualitative Social Researrch, 1(2 ), Online available at: http://www.qualitativeresearch.net/index.php/fqs/article/view/1089/2385: Retrieved: 1085 March 2020.

Mayring, P. (2014). Qualitative content analysis: theoretical foundation, basic procedures and software solution, Klagenfurt, 2014. URN. Online available at: http://nbnresolving.de/urn:nbn:de:0168-39513

Nang, R. N., Monahan, F., Diehl, G. B., & French, D. (2015). A Qualitative Content Analysis of Global Health Engagements in Peacekeeping and Stability Operations Institute’s Stability Operations Lessons Learned and Information Management System. Military Medicine, 180 (4), 409-418.

Patton, M, Q. (2002). Qualitative Research and Evaluation Methods (3 ed.). Thousand Oaks: Sage Publications.

White, M. D., & Marsh, E. E. (2006). Content Analysis: A Flexible Methodoloty Library Trends, 55(1), 22-45.

Zhang, Y., & Wildermuth, B. M. (2005). Qualitative Analysis of Content. Psychology. Online available at: https://www.ischool.utexas.edu/~yanz/Content_analysis.pdf: retrieved 5 March 2020.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-11

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ