การเข้าถึงนโยบายยาต้านไวรัส HIV ในประเทศไทยจากอดีตสู่ยุคดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • พิเชษฐ พิณทอง คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • จารุวรรณ บํารุงรักษ์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

คำสำคัญ:

การเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวี, ยุคดิจิทัล, รายจ่ายสาธารณะ, นโยบาย

บทคัดย่อ

ประเทศไทยเคยเป็นประเทศที่มีการแพร่ระบาดเชื้อเอชไอวีมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี คริสตศักราชที่ 1990 มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีถึง 520,000 คน แต่สถานการณ์ความรุนแรงนั้นลดลงเหลือเพียง 10,853 คน ในปีคริสตศักราช 2010 ปัจจัยสําคัญหนึ่งมาจากนโยบายการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวี ในอดีตผู้ ติดเชื้อเอชไอวีต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูงมาก ทําให้คนรวยมีโอกาสที่จะรอดชีวิตมากกว่าคนยากจน ต่อมารัฐบาลไทยได้มีการจัดสรรรายจ่ายสาธารณะในเรื่องการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวีมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้คน ยากจนมีโอกาสเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวีมากขึ้น ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายอย่างต่อเนื่อง ทําให้อัตราการตายและการติดเชื้อรายใหม่ลดลงอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามพบว่า แม้ปัจจุบันจะ เข้าสู่ยุคสมัยที่เรียกว่า “ยุคดิจิทัล” ที่ผู้คนทั่วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย แต่ก็มีผู้ติดเชื้อเอชไอวี จํานวนมากที่ยังไม่สามารถเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวีได้ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายพัฒนาการ ทางด้านนโยบายการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอชไอวีในอดีตถึงยุคดิจิทัลของไทยว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร

References

UNAIDS, 2018. THE AIDS RESPONSE IN THE 2030 AGENDA FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT: JOINT WORK, SHARED GAINS. http://www.unaids.org/en/AIDS_SDGs, 4 December, 2018.

UNAIDS. 2018. FACT SHEET-July 2018. UNAIDS. Switzerland: UNAIDS.

Cristian Timmermann and Henk van den Belt, 2013. Intellectual Property and Global Health: From

Corporate Social Responsibility to the Access to Knowledge Movement. Livepool Law Rev. Springer. 34, 47-73.

UNAIDS. 2016. GLOBAL AIDS UPDATE 2016. Switzerland: UNAIDS.

UNAIDS. 2016. GLOBAL AIDS Monitoring 2017. Switzerland: UNAIDS.

UNAIDS. 2016. STATEMENT 2016 United Nations Political Declaration on Ending AIDS sets world on the Fast-Track to end the epidemic by 2030. http://www.unaids.org/en/resources/presscentre/pressreleaseandstatementarchive/2016/june/20160608_PS_HLM_PoliticalDeclaration 1 October, 2018.

UNAIDS, 2017. ENDING AIDS Progress Toward The 90-90-90 TARGETS. Switzerland: UNAIDS.

กรมควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร. 2560. ยุทธศาสตร์ยุติปัญหาเอดส์ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2560-2573. กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพมหานคร.

คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์, 2560. ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ พ.ศ.2560-257. บริษัท เอ็นซี คอนเซ็ปส์ จํากัด. กรุงเทพมหานคร.

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ, 2561. สถานการณ์น่าห่วงวัยรุ่นไทยติดเชื้อเอชไอวีสูงขึ้น. http://www.thaihealth.or.th/Content/41145-. 12 ธันวาคม 2561.

World Health Organization Thailand. (2018, December, 13). HIV and AIDS. Retrieved from http://www.searo.who.int/thailand/areas/hivaids/en/.

Sarada P. Wast, Padam Simkhada, Julian Randall, Jennifer V. Freeman and Edwin van Teijlingen, 2012. Factor Influenceing Adherence to Antiretroviral Treatment in Nepal: A Mixed-Methods Study. Plos ONE. Vol, 7 issue 5, May.

World Health Organization, 2011. World Health Organization brief on Antiretroviral Treatment (ART) in and TB prevention. January, 2011. Switzerland: World Health Organization.

ประพันธุ์ ภานุภาค, 2555. ยาต้านไวรัสชีวิตใหม่ของผู้ติดเชื้อ HIV. https://www.redcross.or.th/article/50961 ศูนย์วิจัยโรคเอดส์สภากาชาดไทย.

นิตยา ภานุภาค, สรุปประเด็นสําคัญในการเสวนาเอดส์ ครั้งที่ 1-4 วันจันทร์ที่ 9 มกราคม 2555 ณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข https://www.redcross.or.th/article/15421

สํานักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2557. แนวทางการตรวจรักษาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประจําปี 2557. กระทรวงสาธารณสุข.

โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2561. ครั้งหนึ่งเราเคยมีประกาศใช้ CL ยา ท่ามกลางความขัดแย้งมากมาย. สืบค้นที่ http://www.hitap.net/168376 วันที่สืบค้น 21 ตุลาคม 2561

อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ, 2559. 10 ปี ซีแอล ช่วยประเทศประหยัดงบค่ายากว่า 1.6 หมื่นล้านบาท ผู้ป่วยเข้าถึงยามากสืบค้นที่ https://www.hfocus.org/content/2016/12/13089 วันที่ สืบค้น 24 พฤษภาคม 2560.

องค์การเภสัชกรรม, 2561, ยาต้านไวรัสเอดส์ ขององค์การเภสัชกรรม (จีพีโอ) ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล จาก WHO รายการแรกของไทยและอาเซียน, สืบค้นที่ https://www.gpo.or.th/Default.aspx?tabid=88&mid=446&ctl=ArticleView&articleId=1219, 16 พฤศจิกายน 2561.

ไทยโพสต์, 2561. ยาต้านไวรัสเอดส์ ของอภ. ได้รับรางวัลมาตรฐานสากล จากองค์การอนามัยโลก รายแรกของอาเซียน, สืบค้นที่ https://www.thaipost.net/main/detail/21222, 16 พฤศจิกายน 2561.

ผู้อํานวยการองค์การเภสัชกรรม, 2561. การให้สัมภาษณ์ของผู้อํานวยการองค์การเภสัชกรรมในรายการเดินหน้าประเทศไทย หัวข้อยาต้านไวรัสเอดส์, 28 ธันวาคม 2561.

Pascal Geldsetzer, David E. Bloom, Salal Humail and Till Barnighausen, 2015. Benefit and costs of the HIV/AIDS Targets for the Post-2015 Development Agenda. Copenhagen Consensus Center. Working paper as of 11 March.

World Health Organization, 2006. Progress on Global Access to HIV Antiretroviral Therapy A Report on “3 by 5” Beyound March 2006. Switzerland: World Health Organization.

คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันละแก้ไขปัญหาเอดส์, 2560. ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ พ.ศ.2560-2573. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาต, 2560. ิ บริการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศการให้บริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี สืบค้น http://napdl.nhso.go.th/NAPWebReport/LoginServlet, วันที่ 25 กันยายน 2561

UNAIDS, 2018. Total HIV Expenditure (Country-reported) Global AIDS Monitoring, search http://aidsinfo.unaids.org/ 27 October, 2018.

Brandbuffet. (2561). สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก “ไทย” เสพติดเน็ตมากสุดในโลก-“กรุงเทพ” เมืองผู้ใช้ Facebook สูงสุด. สืบค้นที่ https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/global-and-thailand-digital-report-2018/. 12 ธันวาคม 2561.

The White House (2015). FACT SHEET: The National HIV/AIDS Strategy: Updated to 2020. https://whitehouse.archives.gov/the-press-officefact-sheet-national-hivaids-strategy-updated-2020 12 ธันวาคม 2561.

Jana Daher, Rohit Vijih, Blake Linthwaita, Sailly Dave, John Kim, Keertan Dheda, Trevor Peter and Nitika OPant Pai (2017). Do digital innovations for HIV and sexually transmitted infections work? Results from a systematic review (1990-2017). BMJ. doi: 101136/bmjopen-2017-017604.

Rathbone AL, Prescott J (2017). The Use of Mobile Apps and SMS Messaging as Physical and Mental Health Interventions: Systematic Review. the Journal of Medical Internet Research. Aug 24;19(8):e295. doi: 10.2196/jmir.7740.

Vodopivec-Jamsek V, de Jongh T, Gurol-Urganci I, Atun R and Car J. (2012). Mobile phone messaging for preventive health care. The Cochrane Database of Systematic Reviews. 12;12:CD007457. doi: 10.1002/14651858.CD007457.pub2.

Shruta Rawat, J Michael Wilkerson, Sylvia M Lawler, Pallav Patankar, BR Simon Rosser, Kanjani Shukla, Seyram Butame, and Maria L Ekstrand. (2018). Recommendations for the Development of a Mobile HIV Prevention Intervention for Men Who Have Sex With Men and Hijras in Mumbai: Qualitative Study. JMIR Public Health and Surveillance. May 3. doi: 10.2196/publichealth.9088

Horvath T, Azman H, Kennedy GE & Rutherford GW. (2012). Mobile phone text messaging for promoting adherence to antiretroviral therapy in patients with HIV infection. The Cochrane Database of Systematic Reviews. Mar 14;(3):CD009756. doi: 10.1002/14651858.CD009756.

ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย, 2561. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. http://www.gisthai.org/aboutgis/gis.html. 16 ธันวาคม 2561. https://www.global5thailand.com/thai/gps.htm

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-11

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ