วิวัฒนาการธนาคารพาณิชย์ไทย: จากลูกคิดสู่บล็อกเชน

ผู้แต่ง

  • อาณัติ ลีมัคเดช คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บทคัดย่อ

กิจการธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยยุคแรกดําเนินการโดยกลุ่มชนชั้นสูงหรือชาวต่างชาติ ซึ่งมักใช้ตัวแทนอิสระที่เรียกว่า กัมประโด เป็นตัวแทนในการปล่อยกู้ เนื่องจากมีข้อมูลผู้ขอกู้มากกว่าธนาคาร จนมูลค่าธุรกิจในระบบธนาคารมีขนาดใหญ่มากขึ้น บทบาทของตัวแทนอิสระจึงลดลงกลายเป็นการจัดการลักษณะองค์กร ซึ่งใช้ประโยชน์จากการประหยัดต่อขนาดได้เต็มที่ การพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์กรสองช่วง ช่วงแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ทําให้เกิดระบบธนาคารบนโทรศัพท์มือถือซึ่งลดบทบาทของสาขาธนาคาร บทความนี้จะชี้ให้เห็นเทคโนโลยีปัจจุบันโดยเฉพาะบล็อกเชนที่จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงช่วงที่สองต่อระบบธนาคาร และเสนอว่ากระบวนการบริหารธนาคารพาณิชย์จะย้อนไปสู่การพึ่งพาตัวแทนอิสระในรูป Fintech Startup อีกครั้งหนึ่งโดยผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่

References

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). ธุรกรรมการชําระเงินผ่านบริการ.Mobile banking และ Internet banking สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=688&language=th

ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2562). สรุปจํานวนรวมสาขาของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบ. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=802&language=TH

ผู้จัดการออนไลน์. (11 ต.ค. 2561) N26 ฟินเทคจอมท้าทาย เป้าหมาย “ธนาคารมหาชนบนมือถือ 2561”. สืบค้นจาก https://mgronline.com/smes/detail/9610000101746

วรวุมิ จิราสมบัติ. (2546). ตันเปงชุนธนาคารพาณิชย์รุ่นแรกของไทย: การสํารวจขั้นต้น.วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 43(2), 209-223.

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2562) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุุน เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ผ่านระบบคราวด์ฟันดิง. สืบค้นจาก https://capital.sec.or.th/webapp/nrs/data/8152s.pdf

สํานักงานคณะกรรมการกํากบหล ั ักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2562) การระดมทุนผ่านผู้ให้บริการคราวด์ฟันดิง. สืบค้นจาก https://www.sec.or.th/th/pages/lawandregulations/crowdfundingregulatorysummary.aspx

สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทลั (องค์การมหาชน). (2562). การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสาหร ํ ับภาครัฐ เวอร์ชั่น 1.0 (มกราคม พ.ศ.2562) สืบค้นจาก https://www.dga.or.th/th/profile/2128/

โครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน. (ม.ป.ป.) ธนาคารพาณิชย์.สืบค้นจาก http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=13&chap=11&page=t13-11-infodetail03.html

Bit-investment. (25 มีนาคม 2562). ความเป็นมาของ Crowdfunding ในประเทศไทย. [เว็บบล็อก] สืบค้นจาก https://bit-investment.cc/2019/03/25/crowdfunding

Coase, R.H. (1937). The Nature of the Firm. Economica, 4(16), 386–405

Ricart, R.M., Tellez, C.&Nicoli, M. (2019, March 26). Paying across borders - Can distributed ledgers bring us closer together?Retrieved from https://blogs.worldbank.org/psd/payingacross-borders-can-distributed-ledgers-bring-us-closer-together.

The World Bank.(2019, June). Remittance Prices Worldwide. Retrieved from https://remittanceprices.worldbank.org/sites/default/files/rpw_report_june_2019.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-11

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ