การเมืองในกระบวนการกำหนดนโยบายการศึกษา: กรณีศึกษาการคอรัปชันการสอบครูผู้ช่วย ผู้ช่วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) พ.ศ. 2551-2562
คำสำคัญ:
การเมืองในกระบวนการกำหนดนโยบาย, นโยบายการศึกษา, การคอร์รัปชัน, การสอบคัดเลือกครูบทคัดย่อ
คำถามการวิจัยของงานชิ้นนี้ก็คือ การคอร์รัปชันการสอบครูผู้ช่วย สพฐ. จากรัฐบาลพลเรือนถึง
รัฐบาลทหาร พ.ศ. 2551 - 2562 นั้น โดยเปรียบเทียบแล้ว มีมากขึ้นหรือน้อยลง และเป็นเพราะเหตุใด โดยงานชิ้นนี้ จะเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ทฤษฎีว่าด้วยกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ (public policy-making process) ทฤษฎีว่าด้วยธรรมาภิบาล (good governance theory) และทฤษฎีว่าด้วยการคอร์รัปชัน (corruption theory)
ความเห็นของคนทั่วไปนั้นอาจ คือ การสอบบรรจุครูผู้ช่วยในสมัยรัฐบาลทหารน่าจะมีลักษณะ
การคอรัปชันมากกว่าในสมัยรัฐบาลพลเรือน อันเนื่องมาจาก รัฐบาลพลเรือนระบอบประชาธิปไตยมีแนวโน้มที่จะถูกตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลได้มากกว่า มีตัวแสดงต่าง ๆ ทั้งภาคประชาชน องค์กรอิสระ หรือสื่อเข้ามาถ่วงดุลการทำงานมากกว่า ขณะที่รัฐบาลทหารระบอบอำนาจนิยมมีแนวโน้มที่จะตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลได้ยาก ตัวแสดงต่าง ๆ มีอำนาจถ่วงดุลได้น้อย จึงทำให้รัฐบาลพลเรือนน่าจะมีความโปร่งใส่และตรวจสอบได้มากกว่ารัฐบาลทหาร
แต่ผลการศึกษาเบื้องต้นของงานชิ้นนี้พบว่าการสอบบรรจุครูผู้ช่วยในสมัยรัฐบาลพลเรือนกลับอาจกลับ
จะมีการคอร์รัปชันมากกว่าในสมัยรัฐบาลทหาร อันเนื่องมาจากเพราะระบอบการเมืองแต่เพียงอย่างเดียวอาจจะยังไม่สามารถอธิบายการเกิดการคอร์รัปชันได้มากพอ จำเป็นต้องใช้ทฤษฎีอื่นเข้ามาดูเพิ่มขึ้นประกอบ แต่นอกจากนั้นในอีกทางหนึ่งอาจเป็นเพราะภายใต้ระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยทำให้สื่อสามารถตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลได้มากขึ้น และอาจเป็นเพราะระบอบการเมืองแบบอำนาจนิยมในช่วงแรกมีการปราบปรามการคอร์รัปชั่นอย่างเข้มงวด
References
โฮล์มส์ เลสลี. (2559). คอร์รัปชัน: ความรู้ฉบับพกพา. (พิเศษ สอาดเย็น และ ธงทอง จันทรางศุ, ผู้แปล)กรุงเทพฯ: openworlds.
Holmes, L. (2015). Corruption: A Very Short Introduction. New York: Oxford University Press.
Goodman, J. (2012). Testing Thais: Establishing the Ordinary in Thai National Exams [Master’s thesis]. Cornell University, Faculty of the Graduate School.
Goodman, J. (2013). The Meritocracy Myth: National Exams and the Depoliticization of Thai Education. Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia, 28(1), 101-131.
จิตติ เอื้อนรการกิจ. (2561). การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของจีน (เกาเข่า): มุมมองเชิงอำนาจ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(1), 279-288.
Nichapat K. (2018). Politics of Changes in Thailand's University Admission Policy (1999-2017) [Master’s thesis]. Chulalongkorn University, Faculty of Political Science.
Nitchapat K. (2019). Reality and Rhetoric of Changes in Thailand’s University Admission Policy, 1999-2017. Journal of Social Sciences, Naresuan University, 15(1), 117-138.
ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2560). กฎหมายปกครองเกี่ยวกับการศึกษา. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร, และสังศิต พิริยะรังสรรค์. (2537). คอรัปชั่นกับประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Pasuk P., & Sungsidh P. (2001). Corruption & Democract in Thailand. Chiang Mai: Silkworm Books.
พัชรี สิโรรส. (2555). “การเมืองของกระบวนการกำหนดนโยบาย”. ใน พัชรี สิโรรส, ธีรพัฒน์ อังศุชวาล (บรรณาธิการ), พลวัตนโยบายสาธารณะ: จากรัฐ เอกชน สู่ประชาชน. (น. 2-29). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรพินท์ สพโชคชัย. (2541). สังคมเสถียรภาพและกลไกประชารัฐที่ดี (Good Governance). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์. (2559). Corruption คอร์รัปชั่นในสังคมสีเทา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนกสนวิจัย.
พีระพงษ์ เตชะทัตตานนท์ (บรรณาธิการ). (2560). สมการคอร์รัปชั่น แก้โจทย์ บวก ลบ คูณ หาย ในสังคมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI).
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). การสร้างธรรมาภิบาล (good governance) ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
เอเจอร์, แซม. (2545). ธรรมาภิบาล การบริหาร การปกครองที่โปร่งใสด้วยจริยธรรม. (ไชยวัฒน์ ค้ำชู, ประทุมพร วัชรเสถียร, กุลลดา เกษบุญชี, และ ศุภมิตร ปิติพัฒน์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: น้ำฝน.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2553). การเมืองการปกครองของไทย (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นิยม รัฐอมฤต. (2555). "ธรรมาภิบาล." เข้าถึงได้จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=ธรรมาภิบาล
ถวิลวดี บุรีกุล. (2556). "ธรรมาภิบาล: หลักการเพื่อการบริหารรัฐกิจแนวใหม่." เข้าถึงได้จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=ธรรมาภิบาล%3A_หลักการเพื่อการบริหารรัฐกิจแนวใหม่
ถวิลวดี บุรีกุล. (2546). ธรรมาภิบาล: หลักการเพื่อการบริหารรัฐกิจแนวใหม่. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 1(2), 14-25.
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.2/ว21 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2548
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว2 ลงวันที่ 27 เมษายน 2553
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว14 ลงวันที่ 25 เมษายน 2555
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว6 ลงวันที่ 9 เมษายน 2556
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว2 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว18 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว14 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2558
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว7 ลงวันที่ 22 กรกฎาคม 2559
หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.6/ว5 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2561
Klitgaard, R. (1988). Controlling Corruption. Berkeley and Los Angeles, California: University of California Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 PAAT Journal (วารสารสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.