อัตลักษณ์ภาพยนตร์ไทยไซไฟ

ผู้แต่ง

  • ภัสสร สังข์ศรี คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

DOI:

https://doi.org/10.60101/jimc2023.844

คำสำคัญ:

ภาพยนตร์, ภาพยนตร์ไทย, ภาพยนตร์ไทยไซไฟ, อัตลักษณ์ภาพยนตร์

บทคัดย่อ

ท่ามกลางภาพยนตร์ไซไฟจากฮอลลีวูดจานวนมากที่ฉายในประเทศไทย ผู้ดู ชาวไทยได้เสพเรื่องราวที่เต็มไปด้วยจินตนาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าพร้อมด้วยงานสร้างที่มีความตื่นตาตื่นใจทั้งภาพและเสียง แต่เมื่อพิจารณาภาพยนตร์ไทย ผู้เขียนตั้งคาถามว่า เรามีการสร้างภาพยนตร์ไทยไซไฟบ้างหรือไม่ แล้วถ้ามีภาพยนตร์ไทยไซไฟจะมีลักษณะอย่างไรบ้าง บทความนี้มิได้บังอาจตัดสินคุณค่าของภาพยนตร์ไทยไซไฟในเชิงสุนทรียะ แต่เป็นการสารวจจานวนภาพยนตร์ไทยไซไฟ ที่มีการผลิตตั้งแต่ช่วงเวลาที่ภาพยนตร์ไทยสร้างในระบบที่มีมาตรฐานและเริ่มได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1969 จนถึงปี ค.ศ. 2022 รวมทั้งพิจารณาลักษณะเฉพาะของภาพยนตร์ไทยไซไฟ เนื่องจากภาพยนตร์เป็นภาพสะท้อนสังคมและความคิดของผู้คน การตรวจสอบภาพยนตร์ไทยไซไฟอย่างน้อยก็น่าจะเป็นอีกหนึ่งมุมมองที่สะท้อนจินตนาการ และความคิดของคนไทยต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในบทความนี้ผู้เขียนเลือกใช้ปีคริสต์ศักราช (ค.ศ.) แทนปีพุทธศักราช (พ.ศ.) เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาเปรียบเทียบภาพยนตร์ไทยไซไฟกับภาพยนตร์จากต่างประเทศ เพราะภาพยนตร์ไทยนั้นมิได้พัฒนาอย่างโดดเดี่ยว แต่ภาพยนตร์ไทยเติบโตไปพร้อม ๆ กับภาพยนตร์จากต่างประเทศด้วยเช่นกัน

References

ภาษาไทย

ไทยรัฐออนไลน์. (2565, 5 ตุลำคม). "ภาคภูมิ วงษ์จินดา" คัมแบ็กกากับภาพยนตร์ “The One Hundred ๑๐๐ ร้อยขา”. https://www.thairath.co.th/entertain/movie/2517678

ศตวรรษสยำม. (2563, 17 มกรำคม). หุ่นอภินิหาร โกลด้า. https://www.satawatsiam.com/ content/5032/หุ่นอภินิหำร-โกลด้ำ

สรวิช ชัยนำม. (2561). ดิสโทเปียไม่สิ้นหวัง: ภาพยนตร์ฮอลลีวูดและการเมืองโลก. สยำมปริทัศน์.

หนุ่มรถไฟ. (2560, 19 มิถุนำยน). เปิดตานาน ไอ้มดแดง ยุคโชวะกับเรื่องราวที่คุณอาจไม่รู้มาก่อน ตอนที่ 1. https://cartoon.mthai.com/japan-cartoon/42965.html

องค์กำรพิพิธภัณฑ์วิทยำศำสตร์แห่งชำติ. (2564, 13 ธันวำคม). มนุษย์ต่างดาว (Alien). https://www.nsm.or.th /nsm/th/node/5475

ภาษาอังกฤษ

Blandford, S., Grant, B. K. & Hillier, J. (2001). The film studies dictionary. Arnold.

Branston, G. & Pearson, R. (2001). Science fiction. In R. Pearson and P. Simpson (Eds.), Critical dictionary of film and television theory (pp. 285-289). Routledge.

Filmsite. (n.d.). The golden age of science fiction films. Retrieved August 21, 2023, from https://www. filmsite.org/sci-fifilms2.html

Hayward, S. (1996). Key concept in cinema studies. Routledge.

Kuhn, A. & Westwell, G. (2012). A Dictionary of film studies. Oxford University Press.

Langford, B. (2005). Film genre Hollywood and beyond. Edinburgh University Press.

Heale, S. (2000). Genre and Hollywood. Routledge.

SFE Encyclopedia of Science Fiction. (2022, September 1). Monster movies. https://sf-encyclopedia.com/entry/monster_movies

Sungsri, P. (2008). Thai national cinema. VDM Verlag Dr. Müller.

04

เผยแพร่แล้ว

27-12-2023

How to Cite

สังข์ศรี ภ. (2023). อัตลักษณ์ภาพยนตร์ไทยไซไฟ. วารสารนวัตกรรมสื่อและการสื่อสาร, 2(2), 45–66. https://doi.org/10.60101/jimc2023.844