ทบทวนหวนคิดเรื่องการสื่อสารโลกาภิวัตน์ในบริบทแห่งภูมิรัฐศาสตร์

ผู้แต่ง

  • Somsuk Hinviman Faculty of Journalism and Mass Communication, Thammasat University

DOI:

https://doi.org/10.60101/jimc2023.830

คำสำคัญ:

การสื่อสาร โลกาภิวัตน์ ภูมิรัฐศาสตร์ ทฤษฎีบรรทัดฐานของสื่อ

บทคัดย่อ

          แนวคิดการสื่อสารโลกาภิวัตน์ยุคแรกก่อตัวมาราวทศวรรษ 1950 โดยได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และเป็นที่รู้จักกันในชื่อของ ทฤษฎีบรรทัดฐานของสื่อ (normative theory of media) ซึ่งในระยะแรกจำแนกบรรทัดฐานของสื่อในโลกเป็น 4 กลุ่มคือ ทฤษฎีอำนาจนิยม ทฤษฎีอิสรภาพนิยม ทฤษฎีสื่อกับความรับผิดทางสังคม และทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยมแบบโซเวียต แต่ต่อมานักทฤษฎีรุ่นหลังได้เติมบรรทัดฐานใหม่เพิ่มอีก 2 ชุด คือ ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา และทฤษฎีประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมของสื่อ แม้ว่าทฤษฎีภูมิรัฐศาสตร์การสื่อสารจะผ่านกาลเวลามาเกินกว่าครึ่งศตวรรษแล้วก็ตาม แต่ทว่า ทฤษฎีดังกล่าวก็ยังคงมีทั้งข้อเด่นและข้อจำกัดในการประยุกต์ใช้เพื่อทำความเข้าใจการสื่อสารในบริบทแห่งโลกาภิวัตน์จนถึงปัจจุบัน

References

กาญจนา แก้วเทพ (2546), “อีกครั้งกับเรื่องการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม”, วารสารวิจัยสังคม, 26(2): 101-135.

________. (2549), วิทยุชุมชน: คลื่นหนุนการสร้างพลังให้ท้องถิ่น, กรุงเทพ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

________. (2552), สื่อสารมวลชน: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา, กรุงเทพ: ภาพพิมพ์.

โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ (2550), ภูมิรัฐศาสตร์ = Geopolitics, กรุงเทพ: โรงพิมพ์วาสนา.

ฌอง แมคไบรด์ (2528), หลายสำเนียงจากโลกเดียวกัน, แปลโดย วีรนุช พลกร-ไม้ไทย และคณะ, กรุงเทพ: ยูเนสโก.

ดวงพร คำนูณวัฒน์ (2548), ชุบชีวิตหอกระจายข่าวด้วยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม, กรุงเทพ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

เฟรด เอส. ซีเบอร์ท และคณะ (2551), ทฤษฎีสื่อสารมวลชน, แปลโดย เกษม ศิริสัมพันธ์, กรุงเทพ: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ระวีวรรณ ประกอบผล (2525), สื่อมวลชนในประเทศโลกที่สาม, กรุงเทพ: ห้องภาพสุวรรณ.

วิภา อุตมฉันท์ (2544), ผลกระทบของสัญญาณวิทยุและโทรทัศน์ข้ามพรมแดนระหว่างไทย-ลาว, กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ (2551), ความสัมพันธ์ไทย-ลาวในสื่อบันเทิงไทย: ศึกษากรณีการประกอบสร้างอัตลักษณ์ความเป็นลาวจากภาพยนตร์เรื่อง “หมากเตะโลกตะลึง”, วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมสุข หินวิมาน (2556), “ท่องไปในโลกการสื่อสารกับโลกาภิวัตน์ด้วยมุมมองทฤษฎีมาร์กซิสม์”, วารสารศาสตร์, 6(1): 113-153.

อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว (2551), ทีวีอัลจาซีรา: สื่อมวลชนสากลของโลกอาหรับ, ปทุมธานี: นาครมีเดีย.

อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ (2527), รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาด้านนิเทศศาสตร์(ระดับอุดมศึกษา) ในประเทศไทย, กรุงเทพ: คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Baran, S. and Davis, J. (2006), Mass Communication Theory: Foundations, Ferment, and Future, California: Thomson Wadsworth.

Curran, J. and Park, M. (2000), De-Westernizing Media Studies, London: Routledge.

Dodds, K. (2007), Geopolitics: A Very Short Introduction, Oxford: Oxford University Press.

McQuail, D. (2005), McQuail’s Mass Communication Theory, London: Sage.

Nerone, J. (2004), “Four Theories of the Press in Hindsight: Reflections on a Popular Model”, in Mehdi Semati (ed.), New Frontiers in International Communication Theory, London: Rowman & Littlefield.

Varis, T. (1974), “Global Traffic in Television”, Journal of Communication, 24: 102-109.

Waters, M. (1995), Globalization, London: Routledge.

Williams, K. (2003), Understanding Media Theory, London: Arnold.

05

เผยแพร่แล้ว

27-12-2023

How to Cite

Hinviman, S. (2023). ทบทวนหวนคิดเรื่องการสื่อสารโลกาภิวัตน์ในบริบทแห่งภูมิรัฐศาสตร์. วารสารนวัตกรรมสื่อและการสื่อสาร, 2(2), 67–84. https://doi.org/10.60101/jimc2023.830