การวิจัยเชิงผสมผสาน : การนิเทศและการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ผู้แต่ง

  • อังชรินทร์ ทองปาน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • รัชฎาพร ศรีพิบูลย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • ปิยธิดา ศรีศิริ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • นุจิรา สุวรรณโท คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
  • ธนิกานต์ ศิริภักดิ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด

DOI:

https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.28

คำสำคัญ:

การวิจัยเชิงผสมผสาน, การสอนภาษาอังกฤษ, การนิเทศ

บทคัดย่อ

         วิจัยเชิงผสมผสานเป็นระเบียบวิธีที่มีแนวคิดเชิงปรัชญาหรือฐานคติพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการวิจัยทั้งหมด ในการออกแบบเป็นแผนของการกระทำที่เชื่อมโยงระหว่างแนวคิดเชิงปรัชญากับวิธีการวิจัยเฉพาะวิธีใดวิธีหนึ่ง  การบูรณาการในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเข้าด้วยกันเป็นการสนับสนุนวิธีการแบบสามเส้าที่จะช่วยให้ได้ข้อคำตอบของปัญหาในการวิจัยได้อย่างชัดเจน ในส่วนของสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาษาศาสตร์ประยุกต์ การสอนภาษาอังกฤษ การพัฒนาวิชาชีพครูผู้สอนภาษาอังกฤษ และการนิเทศการสอนภาษาอังกฤษใด้มีการนำระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสมผสานมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัย ซึ่งในบทความนี้จึงได้นำเสนอแนวทางการนำระเบียบวิธีวิจัยเชิงผสมผสานมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสาขาการสอนภาษาอังกฤษและการนิเทศการสอนภาษาอังกฤษที่สำคัญและจำเป็นเพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

References

อังชรินทร์ ทองปาน. (2565). การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู. ร้อยเอ็ด : มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

Brannen, J. (1992). Mixing Methods: Qualitative and Quantitative Research. London: Gower.

Bryman, A. (2004). Social research methods. 2nd Edition. Oxford University Press.

Bryman, A. (2006). Integrating Quantitative and Qualitative Research: How Is It Done? Qualitative Research. 6 : 97-113. [Online]. Available from http://dx.doi.org/10.1177/1468794106058877 Retrieved 7th July,2020.

Creswell, J. W., & Plano-Clark, V. L. (2007). Designing and conducting mixed methods research. Thousand Oaks, Calif: SAGE Publications.

Creswell, J. W., & Plano Clark, V. L. (2018). Designing and Conducting Mixed Methods Research. 3rd ed. Thousand Oaks, CA: SAGE.

Creswell, J. W. (2014a). A concise introduction to mixed methods research. Los Angeles, CA: Sage.

Creswell, J. W. (1994). Research Design: Qualitative and Quantitative Approaches. Thousand Oaks. CA: Sage.

Johnson, R. B., & Onwuegbuzie, A. J. (2004). Mixed methods research: A research paradigm whose time has come. Educational Researcher. 33(7) : 14-26.

Morse, J. M. (1991). Strategies for sampling. In J. M. Morse (Ed.), Qualitative nursing research: A contemporary dialogue. pp. 127–145. Sage Publications, Inc.

Pardede, Parlindungan. (2019). Mixed Methods Research Designs in EFL. In: PROCEEDING English Education Department Collegiate Forum (EED CF) 2015-2018. pp. 230-243. UKI Press, Indonesia, Jakarta,.

Tashakkori, A., & Teddlie, C. (1998). Mixed methodology: Combining qualitative and quantitative approaches. Sage Publications, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-08-2023

How to Cite

ทองปาน อ., ศรีพิบูลย์ ร., ศรีศิริ ป., สุวรรณโท น., & ศิริภักดิ์ ธ. (2023). การวิจัยเชิงผสมผสาน : การนิเทศและการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ, 1(4), 97–114. https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.28