การจัดการเรียนรู้โดยใช้คำถามเป็นฐาน
DOI:
https://doi.org/10.14456/jasrru.2023.33คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก, การประเมินผลทางเลือกใหม่, การเรียนรู้โดยใช้คำถามเป็นฐานบทคัดย่อ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้คำถามเป็นฐาน เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ตอบสนองต่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้คำถามเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นความรู้สึก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ของตนเองได้จากการการคิด ตอบคำถาม สร้างความเข้าใจ และค้นพบความรู้ รวมถึงการวิเคราะห์ ใช้ประโยชน์จากความรู้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่และแก้ปัญหาในชีวิตจริง โดยมีกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้คำถามเป็นฐาน ประกอบด้วย การสร้างคำถาม ถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนสงสัยและค้นหาคำตอบ ถามเพื่ออภิปรายและหารือ ถามเพื่อการตรวจสอบ ถามเพื่อการสรุป และถามเพื่อการต่อยอด สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนด้วยกัน ได้แก่ ขั้นวางแผนการใช้คำถาม ขั้นเตรียมคำถาม ขั้นของการใช้คำถาม และขั้นสรุปเนื้อหาการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถออกแบบการเรียนรู้ สร้างเครื่องมือในการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของเนื้อหาสาระ โดยผู้สอนสามารถประเมินผู้เรียนไปพร้อม ๆ กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามสภาพจริง ตามแนวทางวิธีการประเมินผลทางเลือกใหม่
Downloads
References
กมล โพธิเย็น. (2564). Active Learning: การจัดการเรียนรู้ที่ตอบโจทย์การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 19(1) : 11-28.
เกียรติกำจร กุศล และทัศน์ศรี เสมียนเพชร. (2558). ความสามารถในการเรียนรู้แบบชี้นำตนเองในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. 8(3) : 127-138.
ไตรรงค์ เจนการ. (2548). การวัดและประเมินผลอิงมาตรฐานการเรียนรู้ควบคู่กับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ : มาร์ค เอ็ม พรินติ้ง.
พันธวัฒน์ ภูมิรัง และวิทยา ทองดี. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning). วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์. 7(1) : 967-976.
รังสินี พูลเพิ่ม จันทนา โปรยเงิน แสงจันทร์ สุนันต๊ะ และนนทิกา พรหมเป็ง. (2561). ประสิทธิภาพผลการเรียนการสอนโดยใช้คำถามเป็นฐานของนักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก. วารสารพยาบาลทหารบก. 19(3) : 126-136.
สมภารธัชธรณ์ ศิโลศรีไช. (2560). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. เอกสารประกอบการสอนวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รหัส 102107. ชัยภูมิ: มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. (อัดสำเนา).
อรัญญา บุญธรรม. (2562). เทคนิคการใช้คำถามในการจัดการเรียนการสอนพยาบาล. วารสารการพยาบาลและการศึกษา. 12(4) : 1-14.
Anderson, L.W. & Krathwohl, D.R. (eds.). (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives. New York : Addison Wesley Longman.
Bloom, B.S. (1956). Taxonomy of Educational Objective, the Classification of Educational Goals-Handbook I: Cognitive Domain. New York : David MacKay Company.
Mongkonwanit, P. (2014). Policy of Learning management of Question Based Learning. Bangkok : SiamTechnology College. [In Thai]
Nuangchalerm, P. and Chaingam, R. (2018). Asking in the Taxonomy of Educational Objectives. Journal of Educational Administration and Supervisor, Mahasarakham University. 9(1) : 7-12. [In Thai]
Sinlarat, P. (2002). CREATIVE AND PRODUCTIVE TEACHER EDUCATION. Bangkok : Chulalongkorn University Printing Company. [In Thai]
Taxonomy, B., Questions, H. L. and Questions, C. (2006). Levels and types of questions. New York : MacKay.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
หมวดหมู่
License
Copyright (c) 2023 วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.