นวัตกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการงานอาชีพในยุคปัญญาประดิษฐ์

ผู้แต่ง

  • ชัชชาย จีระวัฒน์วงศ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • ประเวศ เวชชะ ศูนย์การจัดการนักศึกษาต่างชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • พูนชัย ยาวิราช คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.33

คำสำคัญ:

นวัตกรรมการบริหารจัดการเชิงรุก, การบริหารจัดการเรียนรู้, กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ, ยุคปัญญาประดิษฐ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมการบริหารจัดการเชิงรุก
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพให้รองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence Era)” มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอนวัตกรรมการบริหารจัดการเชิงรุกเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพให้รองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence Era) โดยใช้วิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-based participatory research : CBPR) ผู้วิจัยได้ออกแบบการวิจัยโดยใช้ 1) การวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method) ประเภทลำดับต่อเนื่องเชิงสำรวจ (Exploratory sequential designs) 2) เทคนิคกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (Appreciation-Influence Control : AIC) และ 3) การหาฉันทามติ (Consensus) 

         ผลการศึกษา พบว่า นวัตกรรมการบริหารจัดการเชิงรุกเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพให้รองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคปัญญาประดิษฐ์ ต้องมีการประเมินสภาวการณ์ การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าหมาย (Goal)
ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Objective) แผนงานโครงการ (Initiative)  และแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) ซึ่งได้กำหนดแผนที่ยุทธศาสตร์ตามแนวตามทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) ทั้ง 4 ด้าน ภายใต้ทฤษฎีการบริหาร Balance Scorecard (BSC)
ใน 4 มิติ ประกอบด้วย มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล  มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพกระบวนการภายใน และ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กรและบุคลากร มิติทั้ง 4 มิติแสดงถึงความเชื่อมโยงไปสู่ความสำเร็จ การบรรลุเป้าหมาย และการบรรลุวิสัยทัศน์ของการบริหารจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพให้รองรับการเปลี่ยนแปลงของยุคปัญญาประดิษฐ์

Downloads

Download data is not yet available.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560). กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ .

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2556. กรุงเทพ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ดาวรถา วีระพันธ์ และ ชญาภา บาลไธสง. (2560). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 11(3) : 52-63.

ประเวศ เวชชะ. (2566). การออกแบบการวิจัย Research Design Five Approaches to Research . เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

Adrien Schmidt. (2017, December 7). How AI Impacts Education. Retrieved from www.forbes.com: https://www.shorturl.asia/HZ1bL

Chat GPT. (17 กรกฎาคม 2566). การศึกษาไทย 4.0 สู่การเปลี่ยนแปลงในยุคปัญญาประดิษฐ์. เข้าถึงได้จาก chat.openai.com: https://shorturl.asia/3HdoD

Chesbrough, H. (2003). Open innovation: The new imperative for creating and profiting from technology. Boston, MA: Harvard Business School Press.

Covey S. R. (2020). The 7 habits of highly effective people. Simon & Schuster.

Graham, C. R. (2006). Blended learning systems. In C. J. Bonk & C. R. Graham (Eds.), The handbook of blended learning: Global perspectives, local designs (pp. 3-21). San Francisco, CA: Pfeiffer Publishing.

Hilary Nixon. (2023). Artificial Intelligence: A History and Future . Beyond Publishing.

Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (1996). The Balanced Scorecard: Translating Strategy into Action. Harvard Business School Press.

Siemens, G. (2005). Connectivism: A learning theory for the digital age. International Journal of Instructional Technology and Distance Learning. 2(1) : 3-10.

Smith J. A. (2020). Proactive Management Strategies for the Modern Workplace. Springer Nature. Journal of Business Research. 112 : 104-113.

Thai PBS. (16 กรกฎาคม 2566). ย้อนวิวัฒนาการในรอบ 75 ปี ปัญญาประดิษฐ์. เข้าถึงได้จาก www.thaipbs.or.th: https://www.thaipbs.or.th/news/content/272538

The Standard. (7 January 2019). มนุษย์จะอยู่ตรงไหนเมื่อ AI ฉลาดกว่าเรา มองอนาคตกับ มาร์ติน ฟอร์ด ผู้เขียนหนังสือ Rise of the Robots. เข้าถึงได้จาก The Standard : https://thestandard.co/martin-ford/

Wagner, T. (2008). The Global Achievement Gap: Why Even Our Best Schools Don't Teach the New Survival Skills Our Children Need and What We Can Do About It. New York, NY: Basic Books.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-09-2024

How to Cite

จีระวัฒน์วงศ์ ช., เวชชะ ป., & ยาวิราช พ. (2024). นวัตกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการงานอาชีพในยุคปัญญาประดิษฐ์. วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ, 2(5), 73–90. https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.33