การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI

ผู้แต่ง

  • ชิษณุพงศ์ สุวรรณไตรย์ คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • สุวรรณวัฒน์ เทียนยุทธกุล คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

DOI:

https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.10

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es), การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI, ความคล้าย

บทคัดย่อ

         การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์      เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับเทคนิค TAI เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลัง      การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนคำชะอีพิทยาคม จำนวน 19 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้ห้องเรียนในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และสถิติทดสอบค่าที

         ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความคล้าย            ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับเทคนิค TAI นักเรียนมีคะแนนคิดเป็นร้อยละ 89.47 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดไว้         2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Downloads

Download data is not yet available.

References

กชกร พัฒเสมา. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารระคนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรและการสอน. จันทบุรี มหาวิทยาลัย ราชภัฏรำไพพรรณี.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

จิณดิษฐ์ ละออปักษิณ และรตินันท์ บุญเคลือบ. (2552). หนึ่งวันผจญภัยในดินแดนคณิตศาสตร์มหัศจรรย์. กรุงเทพฯ : สาราเด็ก.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั้น.

ชาตรี ฝ่ายคำตา. (2551). การจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 11(11) : 32-45.

ณัฐนันท์ จุยคําวงศ์. (2565). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์เรื่อง ทศนิยม โดยใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้ 5E ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. KKU International Journal of Humanities and Social Sciences. 12(1) : 1-20.

ณัฐพล หงษ์ทอง, ธีรโชติ โลกธาตุ และสิทธิพร ประทีป. (2566). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับบทเรียนผ่าน GeoGebra ที่มีต่อการคิดเชิงเรขาคณิตและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสาร วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา. 6(2). 320-332.

ปรีชา เนาว์เย็นผล. (2537). หน่วยที่ 12 การแก้ปญหาคณิตศาสตร์ (ประมวลสารัตถะและ วิทยวิธีทางคณิตศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นนทบุรี.

พรพิมล พรพีรชนม์. (2551). การจัดกระบวนการเรียนรู้. สงขลา : เทมการพิมพ์สงขลา.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2552). สอนวิทยาศาสตร์เพื่อความเข้าใจด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด.

รักษ์เกียรติ รักษ์อุดมการณ์ และนฤมล ศักดิ์ปกรณ์กานต์. (2564). ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 ขั้น (5E) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 15(1) : 20-29.

เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2555). ครบเครื่องเรื่องควรรู้สำหรับครูคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์สนิทวงศ์การพิมพ์.

ศศิธร โมลา, คมสัน ตรีไพบูลย์ และวิมลรัตน์ จตุรานนท์. (2563). ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 22(3) : 262-274.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2558). การจัดการเรียนรู้ ของครูยุคใหม่...เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุพิชญา เขียวหวาน, ธีรทิพย์ โต้ตอบ, ณรงค์ ไกรเนตร์ และคณะ. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์โดยการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ประกอบกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เรื่อง ปริซึมและทรงกระบอก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนกุยบุรีวิทยา. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. 32(2) : 71-79.

อภิญญา ทองเสนา, อัญชลี แสงอาวุธ และมัทนียา พงศ์สุวรรณ. (2566). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารจำนวนนับ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลสวี (บ้านนาโพธิ์). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

อัจจิมา บรรพต, กฤษณะ โสขุมา และเดช บุญประจักษ์. (2565). การเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ลำดับและอนุกรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือเทคนิค TAI กับการสอนแบบปกติ. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. 16(2) : 109-118.

อัมพร ม้าคนอง. (2543). การคิด. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

Rodger W. Bybee, Joseph A Taylor, April Gardner and Pamela Van Scotter. (2006). The BSCS 5E instructional model: Origins and Effectiveness. Colorado Springs: CO:BSCS.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

08-04-2024

How to Cite

สุวรรณไตรย์ ช. ., & เทียนยุทธกุล ส. (2024). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI. วารสารราชภัฏสุรินทร์วิชาการ, 2(2), 29–44. https://doi.org/10.14456/jasrru.2024.10