ความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบของสัปดาห์ที่ 4 ข่าวร้าย ปริมาณการซื้อขาย กับผลกระทบของวันในสัปดาห์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ชิดชนก ใจฝั้น คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • อนิล รูพ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

คำสำคัญ:

ผลกระทบของวันในสัปดาห์, ผลกระทบของสัปดาห์ที่ 4, ข่าวร้าย, ปริมาณการซื้อขาย, ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบของสัปดาห์ที่ 4 (Week-Four Effect) ข่าวร้าย และปริมาณการซื้อขาย กับปรากฏการณ์ Day-of-The-Week Effect ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของหลักทรัพย์ ในวันจันทร์มีค่าเป็นลบ และมีค่าต่ำสุด ขณะที่อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของหลักทรัพย์ในวันศุกร์มีค่าเป็นบวก และมีค่าสูงสุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 
ผู้ศึกษาได้ทดสอบเพื่อหาคำอธิบายที่เป็นไปได้เกี่ยวกับปรากฏการณ์ Day-of-The-Week Effect ที่เกิดขึ้น ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของหลักทรัพย์ในวันจันทร์จะมี ค่าเป็นลบ และมีค่าต่ำสุดในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือน (สัปดาห์ที่ 4 หรือสัปดาห์ที่ 5) ขณะที่อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของ หลักทรัพย์ในวันจันทร์จะมีค่าเป็นบวก และมีค่าสูงสุดในสัปดาห์ที่ 3 ของเดือน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้ ยังพบอีกว่า อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของหลักทรัพย์ในวันจันทร์จะมีค่าเป็นลบ และมีค่าต่ำสุดในช่วงที่มีสภาพแวดล้อมของตลาดเป็นลบ (ข่าวร้าย) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบอีกว่า ปริมาณการซื้อขายของหลักทรัพย์ในวันจันทร์มีค่าต่ำสุด ขณะที่ ปริมาณการซื้อขายของหลักทรัพย์ในวันพฤหัสบดีมีค่าสูงสุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 
ท้ายที่สุดแล้ว จึงสามารถสรุปได้ว่า ผลกระทบของสัปดาห์ที่ 4 (Week-Four Effect) ข่าวร้าย และปริมาณการ ซื้อขาย มีความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ Day-of-The-Week Effect ที่เกิดขึ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างมี นัยสำคัญทางสถ 

References

Abraham, A., & Ikenberry, D. L. (1994). The individual investor and the weekend effect. Journal of Financial and Quantitative Analysis, 29(2), 263-277.

Aggarwal, R., & Rivoli, P. (1989). Seasonal and day-of-the-week effects in four emerging stock markets. Financial Review, 24, 541-550.

Brusa, J., Liu, P. (2004). The Day-of-the-Week and the Week-of-the-Month Effects: An Analysis of Investors’ Trading Activities. Review of Quantitative Finance and Accounting, 23, 19-30.

Chancharat, S., Suwannapak, S., Huhttarak, S., & Chancharat, N. (2018). The day-of-the-week effects in the Stock Exchange of Thailand. Modern Management Journal, 16(2).

Chen, H., & Singal, V. (2003). Role of speculative short sales in price formation: The case of the weekend effect. Journal of Finance, 58, 685-705.

Chiradatesakunvong, S. (2004). Does trading volume convey information about stock prices?: Evidence from the SET (Unpublished master’s thesis). Faculty of Commerce and Accountancy, Thammasat University.

Fama, E. F. (1965). The Behavior of Stock Market Price. Journal of Business January, 34-105.

Fama, E. F. (1970). Efficient capital markets: A review of theory and empirical work. Journal of Finance, 25(2), 383-417.

Fishe, R. P. H., Gosnell, T. F., & Lasser, D. J. (1993). Good news, bad news, volume and the Monday effect. Journal of Business Finance and Accounting, 20, 881-892.

French, K. R. (1980). Stock returns and the weekend effect. Journal of Financial Economics, 8(1), 55-69.

Gibbons, M.R., & P. Hess. (1981). Day of the Week Effects and Asset Returns. The Journal of Business, 54(4), 579-596.

Hensel C. & W. Ziemba (1996). Investment Results from Exploiting Turn-of-the-month Effects. Journal of Portfolio Management (Spring), 17-23.

Jeffrey, J., & Westerfield, R. (1985). The weekend effect in common stock returns: The international evidence. Journal of Finance, 40, 433-454.

Jenwittayaroje, N. (2019). The Study of Monday Effect in the Stock Exchange of Thailand. NIDA Business Journal, 25, 158-172.

Khanthavit, A., & Chaowalerd, O. (2016). Revisiting the day-of-the-week effect in the Stock Exchange of Thailand. Journal of Business Administration, 39, 73-89.

Kohli, R.K., Kohers, T. (1992). The week-of-the-month effect in stock returns: The evidence from the S&P Composite Index. J Econ Finan, 16, 129.

Lim, S.Y., & Chia, R.C., (2010). Stock Market Calendar Anomalies: Evidence from ASEAN-5 Stock Market. Economics Bulletin, 30(2), 996-1005.

Miller, Prather, & Mazumder. 2003. Day-of-the-Week Effects Among Mutual Funds. Quarterly Journal of Business and Economics, 42(3), 113-128.

Nelson, D. B. Conditional heteroskedasticity in asset returns: A new approach. Econometrica, 59(2), 347-370.

Parkatt, G. (2016). Testing of Seasonal Behavior “Day-of-the-Week Effect” in the Stock Market. Suranaree Journal of Social Science, 10(1), 141-154.

Sun, Q., & Tong, W. H.S. (2002). Another New Look at the Monday Effect. Journal of Business Finance & Accounting, 29(7) & (8), 1123-147.

Tangjitprom, N. (2011). The Calendar Anomalies of Stock Return in Thailand. Journal of Modern Accounting and Auditing, 7(6), 565-577.

Wang, K., Li, Y., & Erickson, J. (1997). A New Look at the Monday Effect. Journal of Finance, 52, 2171-2186.

Zhang, J., Lai, Y., & Lin, J. The day-of-the-week effects of stock markets in different countries. Finance Research Letters, 20, 47-62.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-13

How to Cite

ใจฝั้น ช., & รูพ อ. (2022). ความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบของสัปดาห์ที่ 4 ข่าวร้าย ปริมาณการซื้อขาย กับผลกระทบของวันในสัปดาห์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ นิด้า, (30), 69–87. สืบค้น จาก https://so10.tci-thaijo.org/index.php/NIDABJ/article/view/69