ความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าไทย

ผู้แต่ง

  • ธัชวรรณ กนิษฐ์พงศ์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ

อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ อย่างไรก็ดีแนวโน้มอุตสาหกรรมยานยนต์โลกกำลังจะเปลี่ยนไปจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีจากยานยนต์เครื่องสันดาปภายในที่ประเทศไทยมีความชำนาญ สู่ยานยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า จึงทำให้อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยจะต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ ดังนั้นการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งแบบรอบด้านด้วยแบบจำลอง Diamond Model ของ Michael E. Porter ทำให้เห็นว่าด้านปัจจัยแวดล้อมของอุตสาหกรรมยังมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ด้านปัจจัยอุปสงค์ จะเป็นแรงผลักให้อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ปัจจัยด้านอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องและสนับสนุน ของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยถือเป็นปัจจัยที่แข็งแกร่งมาก และปัจจัยด้านกลยุทธ์โครงสร้างและการแข่งขันของประเทศไทยยังถือว่าเป็นปัจจัยบวกต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ไทย

References

Automotive Industry Club (AIC); Analyze by Thailand Automotive Institute

Honda (Thailand), https://www.honda.co.th/th/company/manufacturing

National Research and Innovation Policy Council, http://stiic.sti.or.th/stat/ind-rd/rd-t002/

Talent Mobility, https://www.talentmobility.or.th

Thailand Automotive Institute, http://www.thaiauto.or.th/2012/th/services/ev/

Thailand Board of Investment, https://www.boi.go.th/searchresult?q=automotive

Toyota (Thailand), https://www.toyota.co.th/tsi/business

Porter, M. E. On Competition. Updated an Expanded Ed. Boston: Harvard Business School Publishing, 2008.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-07

How to Cite

กนิษฐ์พงศ์ ธ. (2023). ความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าไทย. วารสารบริหารธุรกิจ นิด้า, (23), 5–19. สืบค้น จาก https://so10.tci-thaijo.org/index.php/NIDABJ/article/view/591

ฉบับ

บท

บทความวิจัย