ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังของนักลงทุนในการได้รับ เงินปันผล และแนวโน้มในอนาคตที่บริษัทจะจ่ายเงินปันผล ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • วชิราพรรณ แก้วกันธา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

ความคาดหวังของนักลงทุน, เงินปันผล, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังของนักลงทุนในการได้รับเงินปันผลและแนวโน้มในอนาคตที่บริษัทจะจ่ายเงินปันผลในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่าความคาดหวังของนักลงทุนที่ต้องการได้รับเงินปันผลนั้นมีผลมาจากปัจจัยของบริษัท ได้แก่ โอกาสในการลงทุนของบริษัท  ขนาดของบริษัทโดยเฉลี่ย กำไรของบริษัท นั้นหมายความว่าเมื่อใดที่ปัจจัยเหล่านี้มีผลไปทางที่ดีจะก่อให้เกิดความคาดหวังต่อนักลงทุนว่าพวกเขาจะต้องได้รับเงินปันผลในอนาคตอย่างแน่นอน ในส่วนของแนวโน้มในอนาคตที่บริษัทจะจ่ายเงินปันผลนั้นก็มีปัจจัยที่ส่งเสริมให้บริษัทต้องจ่ายเงินปันผลคือ โอกาสในการเติบโตของบริษัท ขนาดของบริษัทโดยเฉลี่ย และกำไรของบริษัท ซึ่งผลการคำนวณที่ได้มานั้นสอดคล้องกับการศึกษาของ Baker and Wurgler (2004b) ยกเว้นโอกาสในการเติบโตของบริษัท เพราะโอกาสในการเติบโตของบริษัทควรจะติดลบหรือไม่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มในอนาคตที่บริษัทจะจ่ายเงินปันผล เพื่อที่จะแสดงความสัมพันธ์แบบผกผันระหว่างการจ่ายเงินปันผลและอัตราการเติบโตของบริษัท เพราะบริษัทที่มีการเติบโตสูงควรจ่ายเงินปันผลต่ำหรือแม้แต่ไม่มีเลย เนื่องจากบริษัทต้องเก็บเงินทุนไว้เพื่อลงทุนใหม่และกระตุ้นการเติบโตของบริษัท ความแตกต่างนี้สามารถระบุได้จากลักษณะเฉพาะของตลาดในประเทศที่กำลังพัฒนาอย่างประเทศไทย

References

Baker, M., & Wurgler, J. (2004a). A catering theory of dividends. The Journal of Finance, 59(3), 1125-1165. https://doi.org/10.1111/j.1540-6261.2004.00658.x

Baker, M., & Wurgler, J. (2004b). Appearing and disappearing dividends: The link to catering incentives". Journal of Financial Economics, 73(2), 271-288. https://doi.org/10.1016/j.jfineco.2003.08.001

Eugene F. Fama and Kenneth R. French (2001). Disappearing dividends: changing firm characteristics or lower propensity to pay?". Journal of Financial Economics, 60, 3-43. https://doi.org/10.1016/S0304-405X(01)00038-1

Gerald R. Jensen, Donald P. Solberg and Thomas S. Zorn. (1992). Simultaneous Determination of Insider Ownership, Debt, and Dividend Policies. The Journal of Financial and Quantitative Analysis Vol. 27, No. 2 (Jun., 1992), 247-263. https://doi.org/10.2307/2331370

John Y. Campbell. (2000). Asset Pricing at the Millennium.. The journal of Finance. Volume55, Issue4 August 2000, 1515-1567. https://doi.org/10.1111/0022-1082.00260

Neil C. Churchill and Virginia L. Lewis. (1983). The Five Stages of Small Business Growth. Harvard Business Review, 61, 30-50.

Nareerath Assavatanalab (2015) Managerial Ownership And Dividend Policy. An Independent Study Submitted In Partial Fulfillment Of The Requirements For The Degree Of Masters Of Accounting Faculty Of Commerce And Accountancy Thammasat University.

Naphasin Santiwat (2021). Dividend Signaling Theory, Maturity Hypothesis, Future Earning Change, Dividend Payout Ratio. Creative Business and Sustainability Journal Volume 43, No. 3, Issue 169 (July - September 2021), 1-21.

Sariya Nuanthawin (2019). The Effect of Financial Ratio on Dividend Payment of the Thai Listed Companies, sSET Index. Pathumthani University Academic Journal. Vol. 12 No. 1 (January-June 2020). 304-318.

Stephen P. Ferris, Narayanan Jayaraman and Sanjiv Sabherwal (2009). Catering effects in corporate dividend policy: The international evidence. Journal of Banking & Finance, 33, 1730-1738. https://doi.org/10.1016/j.jbankfin.2009.04.005

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30

How to Cite

แก้วกันธา ว., & ตั้งสมชัย ช. (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังของนักลงทุนในการได้รับ เงินปันผล และแนวโน้มในอนาคตที่บริษัทจะจ่ายเงินปันผล ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ นิด้า, (32), 56–68. สืบค้น จาก https://so10.tci-thaijo.org/index.php/NIDABJ/article/view/590