ธุรกิจเพื่อความสุข: สำนักความคิดใหม่เพื่อโลกที่ดีขึ้น
คำสำคัญ:
หลักคิดธุรกิจ, ความสามารถในการแข่งขัน, สำนักความคิดใหม่, การเติบโตที่ยั่งยืนบทคัดย่อ
ในขณะที่ธุรกิจมีการขยายตัวและเติบโตอย่างมากในปัจจุบัน อาจจะเป็นผลมาจากโลกการค้าที่ไร้พรมแดนและกำแพงภาษีที่ถูกยกเลิกจากการค้าเสรีที่มีอิทธิพลเพิ่มมากขึ้นประกอบกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทำให้การค้าและการลงทุนทำได้ง่ายดายมากขึ้น ในทางตรงกันข้ามผลจากการศึกษากลับพบว่ามนุษย์กลับมีความสุขน้อยลงจากการใช้ชีวิตประจำวัน ที่ยิ่งกว่านั้นคือสังคมโดยรวมที่มีการเติบโตมากแต่กลับประสบกับปัญหาที่สูงมากขึ้นโดยเฉพาะที่เห็นได้ชัดในปัญหามลพิษในทุกมิติ ในขณะที่การเติบโตที่โดดเด่นมีในด้านมิติทางด้านเศรษฐกิจที่ชัดเจนแต่หากดูในภาพรวมให้ดีจะพบว่ากลับเป็นการเติบโตที่มาพร้อมกับปัญหาการกระจายรายได้ ปัญหาความเหลื่อมล้ำ การใช้ทรัพยากรที่มากเกินความจำเป็นที่นำมาซึ่งปัญหาสังคมในหลาย ๆ ด้าน จากปรากฏการณ์ดังกล่าวจึงทำให้เกิดคำถามว่าธุรกิจที่ทุกคนต่างเกี่ยวข้องกันนั้นนำมาซึ่งผลลัพธ์ที่แท้จริงคืออะไรกันแน่ ทำไมจึงมีปัญหาเกิดขึ้นในเกือบทุกสังคม บทความวิจัยนี้เป็นความพยายามนำเสนอความคิดใหม่ที่จะสามารถช่วยสร้างให้ธุรกิจเป็นกลไกทางสังคมที่นำมาซึ่งความสุขความสมบูรณ์ที่แท้จริง ทั้งนี้เพื่อทำให้โลกที่เราทุกคนอาศัยมีความน่าอยู่มากขึ้น
References
Bennis, W. G., & O'Toole, J. 2005. How business school lost their way. Harvard Business Review, 83(5): 96-104.
Bourdieu, P., & Laquant, L. 1992. An invitation to reflexive sociology. Chicago, IL: University of Chicago Press.
Flyvbjerg, B. 2001. Making the social science matter: Why social inquiry fail and how it success again. Oxford, UK: Oxford University Press. https://doi.org/10.1017/CBO9780511810503
Heidegger, M. 1962. Being and time. New York, NY: Harper & Row.
Mintzberg, H., & Gosling, J. 2002. Educating managers beyond borders. Academy of Management Learning & Education, 1: 64-75. https://doi.org/10.5465/amle.2002.7373654
Mirvis, P. 2008. Executive development through consciousness raising experiences. Academy of Management Learning 7 Education, 7: 173-188. https://doi.org/10.5465/amle.2008.32712616
Petriglieri,G, & Petriglieri,, J. L. 2010. Identity workspaces: The case of business schools. Academy of Management Learning & Education, 9: 44-60. https://doi.org/10.5465/AMLE.2010.48661190
Pfeffer, J., Fong, C. T. 2002. The business school "business': Some lesson from the US experience. Journal of Management Studies, 41(8): 1501-1520.
Ryan, C. 2010. Sex at dawn: The prehistoric origins of modern sexuality. New York, NY: Harper.
Simanis, E., & Duke, D. 2014. Profits at the bottom of the pyramid. Harvard Business Review, October. Harvard Business Press.
Waddock, S. 2008. Building a new institutional infrastructure for corporate responsibility. https://doi.org/10.5465/amp.2008.34587997
Academy of Management Perspectives, 22(3); 87-108.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2019 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.