ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการซื้อขายของนักลงทุนและผลประกอบการ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • เอกชัย นิตยาเกษตรวัฒน์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
  • ิโรจน์ บุรณศิริ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

กระแสเงินทุน, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, ผู้ลงทุนสถาบัน, นักลงทุนต่างชาติ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนของตลาดหุ้นและกระแสของเงินลงทุนจากกลุ่มนักลงทุน ต่างๆ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2552 ถึงเดือนมิถุนายน 2564 โดยตัวอย่างที่ เลือกครอบคลุมช่วงเวลาหลังเหตุการณ์ความผันผวนรุนแรงจากวิกฤตการเงินโลก และเวลาที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทั้งนี้ ตลท. แบ่งกลุ่มผู้ลงทุนออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ นักลงทุนในประเทศ สถาบันในประเทศ บริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติ การวิจัยเชิงประจักษ์นี้พิสูจน์ให้เห็นถึงอิทธิพลของการซื้อสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ ต่อการซื้อสุทธิของบริษัทหลักทรัพย์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญ และความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างผลตอบแทนของตลาดหุ้น โดยรวมกับการซื้อสุทธิของนักลงทุนสถาบันและนักลงทุนต่างชาติซึ่งไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

References

Barber, B. M., Lee, Y. T., Liu, Y. J., & Odean, T. (2004, July). Who gains from trade? Evidence from Taiwan. In 12th Conference on the theories and practices of securities and financial markets, Kaohsiung, Taiwan.

Boyer, B., & Zheng, L. (2009). Investor flows and stock market returns. Journal of Empirical Finance, 16(1), 87-100.

Cao, C., Chang, E. C., & Wang, Y. (2008). An empirical analysis of the dynamic relationship between mutual fund flow and market return volatility. Journal of Banking & Finance, 32(10), 2111-2123.

Dennis, P. J., & Strickland, D. (2002). Who blinks in volatile markets, individuals or institutions? The Journal of Finance, 57(5), 1923-1949.

French, J. (2017). Asset pricing with investor sentiment: On the use of investor group behavior to forecast ASEAN markets. Research in International Business and Finance, 42, 124-148.

Grinblatt, M., & Keloharju, M. (2000). The investment behavior and performance of various investor types: a study of Finland’s unique data set. Journal of Financial Economics, 55(1), 43-67.

Nittayagasetwat, A. (2018). How Do International Fund Flows Move the Stock Markets in Asia?. Journal of Applied Economic Sciences (JAES), 13(57), 701-710.

Nittayagasetwat, A., & Buranasiri, J. (2019). In-Depth Analysis of ASEAN Stock Markets’ Diversification Benefit under Vector Autoregressive Model. Editorial Board, 171.

Richards, A. (2005). Big fish in small ponds: The trading behavior and price impact of foreign investors in Asian emerging equity markets. Journal of Financial and Quantitative Analysis, 40(1), 1-27.

Said, S. E., and D. A. Dickey. (1984). Testing for Unit Roots in Autoregressive-moving Average Models of Unknown Order. Biometrika, 71(3), 599-607.

Wang, J. (2007). Foreign equity trading and emerging market volatility: Evidence from Indonesia and Thailand. Journal of Development Economics, 84(2), 798-811.

Warther, V. A. (1995). Aggregate mutual fund flows and security returns. Journal of Financial Economics, 39(2-3), 209-235.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-13

How to Cite

นิตยาเกษตรวัฒน์ เ., & บุรณศิริ ิ. (2022). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการซื้อขายของนักลงทุนและผลประกอบการ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ นิด้า, (29), 71–83. สืบค้น จาก https://so10.tci-thaijo.org/index.php/NIDABJ/article/view/62