การสังเคราะห์รูปแบบ การออกแบบสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงานสำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ

Main Article Content

ฉันท์ทิพย์ ลีลิตธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความต้องการของสถานประกอบการ สำหรับการสังเคราะห์รูปแบบ การออกแบบ สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงาน สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ 2) เพื่อสังเคราะห์รูปแบบการออกแบบสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงาน สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในสถานประกอบการ 3) เพื่อประเมินความเหมาะสมรูปแบบการออกแบบ สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงาน สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย เลือกแบบเจาะจง เป็นผู้บริหาร จากสถานประกอบการจำนวน 5 แห่ง ๆ 2 ท่าน รวมจำนวน 10 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบประเมินความต้องการของสถานประกอบการ สำหรับการสังเคราะห์รูปแบบการออกแบบ สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล 2) รูปแบบสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงาน สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ ที่สังเคราะห์ขึ้น และ 3) แบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบออกแบบสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) การดำเนินการวิจัยระยะที่ 1 ได้ผลการประเมินความต้องการ ของสถานประกอบการสำหรับการสังเคราะห์รูปแบบการออกแบบ สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงาน สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จากรายนามสถานประกอบการนั้นเห็นด้วยกับรายการประเมินจำนวน 4 รายการ ได้แก่ รายการที่ 1 สมรรถนะวิชาชีพด้านทักษะ รายการที่ 2 ทักษะดิจิทัล รายการที่ 3 ทักษะความรู้พื้นฐาน ซึ่งทั้ง 4 รายการ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นักศึกษาได้รับการพัฒนาระหว่างศึกษา และรายการที่ 4 เป้าหมายองค์กร 2) การดำเนินการวิจัยระยะที่ 2 ได้รูปแบบการออกแบบสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงาน สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ ที่สังเคราะห์ขึ้น และ 3) ผลการประเมินความเหมาะสม รูปแบบการออกแบบ สื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงาน สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในสถานประกอบการ มีความเหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ยรวม 3 ด้านเท่ากับ (svg.image?\bar{x}= 4.42 S.D. = 0.65) สามารถนำไปใช้ได้


 

Article Details

How to Cite
ลีลิตธรรม ฉ. (2023). การสังเคราะห์รูปแบบ การออกแบบสื่อการเรียนรู้ดิจิทัล แนะนำการปฏิบัติงานสำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 14(2), 62–73. สืบค้น จาก https://so10.tci-thaijo.org/index.php/FTEJournal/article/view/755
บท
Article

References

Acevedo, J. G., Valencia Ochoa, G., & Obregon, L. G. (2020, Jun). Development of a new educational package based on e-learning to study engineering thermodynamics process: combustion, energy and entropy analysis. Heliyon, 6(6), e04269. https://doi.org/10.1016/j.heliyon.2020.e04269

Aiemphaya, K., Noymanee, N., Anukulwech, A., & Raso, D. (2021). MANAGEMENT OF EDUCATION IN GLOBALIZATION. Journal of Educational Review Faculty of Education in MCU, 8(1), 352–360. [in Thai]

Aumgri, Ch., & Apirating K. (2019). The Development of Digital Media via Augmented Reality by Using Collaborative Learning STAD in Computer Courses. Grade 6 Students. Journal of Project in Computer Science and Information Technology, 5(2), 18–27. [in Thai]

Draper-Rodi, J., Vogel, S., & Bishop, A. (2018). Design and development of an e-learning programme: An illustrative commentary. International Journal of Osteopathic Medicine, 29, 36-40. https://doi.org/10.1016/j.ijosm.2018.07.002

Haug, B. S., & Mork, S. M. (2021). Taking 21st century skills from vision to classroom: What teachers highlight as supportive professional development in the light of new demands from educational reforms. Teaching and Teacher Education, 100. https://doi.org/10.1016/j.tate.2021.103286

Lorphichian, A. (2023). Application of Digital Technology to Create Quality Education Standards. Mahachula Academi Journal. 10(1). 312-322. [in Thai]

Puengnet, A. & Charoenkitthanalap, S. (2022). Teamwork Affects Performance Efficiency of Kasikorn Bank Employeesin Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Mahachula Academic Journal. 9(3). 77-90. [in Thai]

Punkhetnakorn, Th., Nak-in, N. & Yongsoi, Ph. (2021). Design and Development of Online Learning Media o Meet the Learning Behaviors of Students in the Digital Age. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation, 7(5), 327–335. [in Thai]

Ruanthai, S., Subruangthong, S., & Noichun, N. (2021). Management Model of the Dual Vocational Education System at the Bachelor’s Degree in Technology or Operational Stream of Vocational Education Institutes. Dhammatas Acadamic Journal. 21(1), 145-158. [in Thai]

Saengwong, N. (2018). The Learning Management Model of the Mechanics Field at Detudom Technical College. Journal for Research and Innovation Institute of Vocational Education Bangkok, 1(1), 13-26. [in Thai]

Shulamit, K., & Yossi, E. (2011). Development of E-Learning environments combining learning skills and science and technology content for junior high school. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 11, 175-179. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2011.01.056

Sutthiprapha, K., Banchon, T., & Team RefLib. (2018). Digital Learning Launchpad. PULINET Journal, 5(3), 50–55. [in Thai]

Tangpradit, W., Tongmun, W., & Thuenchang, W. (2021). 5 Advantages of Pattitanamai from Internship Students. Journal of Graduate Review Nakhon Sawan Buddhist College, 9(3), 121–130. [in Thai]

Ung, L.-L., Labadin, J., & Mohamad, F. S. (2022). Computational thinking for teachers: Development of a localised E-learning system. Computers & Education, 177. https://doi.org/10.1016/j.compedu.2021.104379