รูปแบบการเรียนรู้กิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ไมโครเลิร์นนิงแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์เพื่อเสริมสร้างทักษะการรู้ดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์กรอบแนวคิดรูปแบบ การเรียนรู้กิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ไมโครเลิร์นนิงแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์ 2) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้กิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ไมโครเลิร์นนิงแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์ 3) พัฒนากระบวนการเรียนการสอนกิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ไมโครเลิร์นนิงแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์ 4) ศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้กิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ไมโครเลิร์นนิงแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์ และ 5) ศึกษาความเหมาะสมในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนกิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ไมโครเลิร์นนิงแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา จำนวน 3 ท่าน และ 2) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการพัฒนาระบบการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา จำนวน 3 ท่าน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการเรียนรู้กิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ไมโครเลิร์นนิง แบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์ และกระบวนการเรียนรู้กิจกรรมเป็นฐานโดยใช้ ไมโครเลิร์นนิงแบบมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่อเสมือนจริงบนชุมชนการเรียนรู้ผ่านคลาวด์ มีความเหมาะสมในการเสริมสร้างทักษะการรู้ดิจิทัลในระดับมากที่สุด สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนในยุคดิจิทัลได้เป็นอย่างดี
Article Details
ลิขสิทธิ์และเนื้อหาในเว็ปไซต์ของวารสาร (รวมถึง โดยไม่จำกัดเฉพาะ เนื้อหา รหัสคอมพิวเตอร์ งานศิลป์ ภาพถ่าย รูปภาพ โสตทัศนวัสดุ) เป็นกรรมสิทธิ์ของวารสารและผู้ได้รับการโอนสิทธิทุกราย
References
Başerer, D. (2020). Activity Based Teaching of Concept Types. World Journal of Education, 10(5), 122-130.
Chatwattana, P. (2021). A MOOC system with self-directed learning in a digital university. Global Journal of Engineering Education, 23(2), 134-142.
Insaard, S. (2021). Micro-learning design of the digital. Education and Communication Technology Journal, 16(20), 16-31. (in Thai)
Jlelaty, M. & Monzer, Y. (2012). Factors in Cloud Computing Adoption. Master Thesis, Department of Information Systems, School of Economics and Management, Lund University.
Kanasutra, P. (1995). Statistics for research in the behavioral sciences. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)
Karpati, A. (2011). Digital Literacy in Education. Moscow: UNESCO Institute for Information Technologies in Education.
Khamanee, T. (2016). Pedagogical sciences: Knowledge for organizing effective learning processes (20th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)
Krishnamoorthy, S. & Padmanaban, S. (2018). Micro Learning-An Innovative Learning Method. Conference paper: Teaching, Learning and Development, 1-13.
Lijanporn, S. & Khlaisang, J. (2015). The Development of an Activity-based Learning Model using Educational Mobile Application to Enhance Discipline of Elementary School Students. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 174, 1707-1712.
Mell, P. & Grance, T. (2011). The NIST Definition of Cloud Computing. United State of America: National Institute of Standard and Technology.
Ministry of Education. (2017). Indicators and learning standards, learning area of mathematics the basic education core curriculum B.E.2551. Bangkok: Office of the Basic Education Commission. (in Thai)
Simpson, R. & Obdalova, O. A. (2014). New Technologies in Higher Education-ICT Skills or Digital Literacy?. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 154, 104-111.
UNESCO. (2018). A Global Framework of Reference on Digital Literacy Skills for Indicator 4.4.2. http://uis.unesco.org/sites/default/files/documents/ip51-global-framework-reference-digital-literacy-skills-2018-en.pdf