สงครามสื่อมวลชนรัสเซีย - ยูเครน ผ่านการกำหนดวาระข่าวสารของประเทศรัสเซีย

ผู้แต่ง

  • กฤษฎา พรหมเวค ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • สิงห์ สิงห์ขจร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลคอนเทนต์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ปรัชญา มหาวินิจฉัยมนตรี อัยการประจำสำนักอัยการสูงสุด
  • กฤษณะ เชื้อชัยนาท อาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
  • รัตนา บุญอ่วม อาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลคอนเทนต์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์สุข อาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลคอนเทนต์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • สรสิทธิ์ เภตรา กำนันตำบลท่าเทววงษ์ จังหวัดชลบุรี

คำสำคัญ:

สงครามสื่อมวลชน, รัสเซีย, ยูเครน, การกำหนดวาระข่าวสาร

บทคัดย่อ

         บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สงครามสื่อมวลชนรัสเซีย - ยูเครน ผ่านการกำหนดวาระข่าวสารของประเทศรัสเซีย ผลการศึกษา พบว่า การรวมตัวของกลุ่มผู้ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์มีความคิดเห็นที่ตรงกันหรือมีแนวทางร่วมกันเป็นจำนวนมาก ถึงจะสามารถผลักดันให้ประเด็นหรือเรื่องราวนั้น ๆ ออกมาสู่กระแสของสังคมได้ ซึ่งสื่อมวลชนคอยตามดูกระแสความนิยม ความสนใจของกลุ่มผู้ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์แล้วจึงคัดเลือกเนื้อหาหรือประเด็นนั้นมานำเสนอผ่านสื่อมวลชน ก็ยังเห็นได้ว่าสื่อมวลชน ยังมีความเป็นผู้กลั่นกรองข่าวสารตามทฤษฎีผู้กรองสาร (Gatekeeper Theory) แต่ความสำคัญของสื่อมวลชนในปัจจุบันเริ่มกลับไปสู่การทำหน้าที่กลั่นกรองข่าวสารตามทฤษฎีผู้กรองสาร ให้เข้มข้นมากขึ้นไม่เช่นนั้นก็จะถูกกระแสของกลุ่มผู้ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ทั้งเรื่องที่เป็นความจริงและเรื่องที่ไม่เป็น ความจริงผสมมากมาย การที่รัสเซียสื่อสารผ่านสื่อของรัฐบาล Russia Today และ Sputnik เป็นการกำหนดวาระของข่าวสารให้เป็นไปตามที่ทางรัฐบาลต้องการ

References

สาขาวิชานิเทศศาสตร์. (2548). ประมวลสาระชุดวิชาปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสารหน่วยที่ 1-6. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

สิงห์ สิงห์ขจร. (2562). กระบวนการจัดการข่าวสารที่เป็นเท็จ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 1(1), 51-63.

สิงห์ สิงห์ขจร, สุภาภรณ์ ศรีดี, วิทยาธร ท่อแก้ว และกานต์ บุญศิริ. (2562). การสื่อสารเพื่อสร้างความนิยมของผู้นำทางการเมืองท้องถิ่น. วารสารอัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี, 9 (18), 197-210.

Åslund, A. (2022, October 13). Why Vladimir Putin is losing the information war to Ukraine. Retrieved from https://www.atlanticcouncil.org/blogs/ukrainealert/why-vladimir-putin-is-losing-the-information-war-to-ukraine/

Baran, S. J., & Davis, D. K. (2012). Mass communication theory (6th ed.). Canada: Wadsworth Cengage Learning.

Barker, M., Barker, D., Bormann, N., & Neher, K. (2013). Social media marketing: A strategic approach. South-Western: Cengage Learning.

Cohen, B. (1963). The press and foreign policy. Princeton, New Jersey: Princeton University Press.

Culliford, E. (2022, October 13). Russia blocks เฟสบุ๊ก, accusing it of restricting access to Russian media. Retrieved from https://www.reuters.com/business/media-telecom/russia-blocks-เฟสบุ๊ก-accusing-it-restricting-access-russian-media-2022-03-04/

Funkhouser, G. R. (1973). Trends in media coverage of the issues of the sixties. Journalism Quarterly, 50, 533-538.

Ireton, C., & Posetti, J. (2018). Journalism, fake news & disinformation: Handbook for journalism education and training. Paris: UNESCO Publishing.

Keller, K. L. (2013) Strategic brand management building measuring and managing brand equity. London: Pearson Education.

Kerlinger, N. F., & Lee, H. B. (2000). Foundations of behavioral research. New York: Wadsworth Cengage Learning.

Kessler, G. (2022, October 13). Zelensky’s famous quote of ‘need ammo, not a ride’ not easily confirmed. Retrieved from https://www.washingtonpost.com/politics/2022/03/06/zelenskys-famous-quote-need-ammo-not-ride-not-easily-confirmed/

Lippman, W. (1922). Public Opinion. New York: Macmillan.

Littlejohn, S. W. (1983). Theories of human communication. Belmont, CA: Wadsworth.

McCombs, M. E., & Shaw, D. L. (1972). The agenda-setting function of mass media. Public Opinion Quarterly, 36(2), 176-187.

McQuail, D. (1987). Mass communication theory: An introduction (2nd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.

Rogers, E. M., & Dearing, J. W. (1988). Agenda-setting research: Where has it been, where is it going? Communication Yearbook, 11, 555-594.

Shaw, D., & McCombs, M. (1977). The emergence of American political issues: The agenda-setting function of the press. St. Paul, MN: West.

Singkhajorn, S. (2017). Tourism communication of Bangkok governor. Proceedings of the IAFOR International Conference on the City 2017 (CITY2017).

Toh, M., Ogura, J., Humayun, H., Yee, I., Cheung E., Fossum, S., & Maruf, R. (2022, October 13). The list of global sanctions on Russia for the war in Ukraine. Retrieved from https://edition.cnn.com/2022/02/25/business/list-global-sanctions-russia-ukraine-war-intl-hnk/index.html.

Weaver, D. H. (2007). Thoughts on agenda setting, framing, and priming. Journal of Communication, 57, 142-147.

Wiegmann, A. (2022, October 13). Russia adds meta to list of ‘terrorist and extremist’ groups. Retrieved from https://www.aljazeera.com/news/2022/10/11/russia-adds-meta-to-list-of-terrorist-and-extremist-groups.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29