การศึกษาอิทธิพลการจัดการซัพพลายเชนแบบหมุนเวียน ที่มีต่อผลการดำเนินงานผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
คำสำคัญ:
การจัดการซัพพลายเชนแบบหมุนเวียน, ผลการดำเนินงานผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลการจัดการซัพพลายเชนแบบหมุนเวียนที่มีต่อผลการดำเนินงานผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เก็บรวบรวมข้อมูลกับตัวอย่างจากผู้จัดการ และหัวหน้างานสถานประกอบการผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 400 ตัวอย่าง ซึ่งใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และวิเคราะห์การถดถอยพหุ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า อิทธิพลการจัดการซัพพลายเชนแบบหมุนเวียนมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการดำเนินงานผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยังสามารถอธิบายผลการดำเนินงานผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ร้อยละ 88 ซึ่งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์มากที่สุด คือ การนำมากลับมาใช้ซ้ำ ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดคุณค่าและมีประสิทธิภาพมากที่สุด รองลงมาคือ การนำของเสียมาเปลี่ยนสภาพใหม่ การซ่อมแซมนำกลับมาใช้ใหม่ และการประหยัด โดยค้นพบว่าการให้ความตระหนักในความสำคัญและบทบาทของกิจกรรมทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนแบบหมุนเวียน ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ รวมทั้งการจัดการของเสียที่เป็นรูปธรรมมชัดเจน เป็นแนวทางที่สามารถลดการปล่อยมลภาวะสู่ธรรมชาติและยังที่จะช่วยให้สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติถูกนำไปใช้งานอย่างเห็นคุณค่าและคุ้มค่ามากที่สุด
References
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2560). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ : สามลดา.
เจษฎา มีบุญลือ. (2553). ความมั่นคงแห่งชาติ : การสร้างชาติไทยให้ยั่งยืน. กรุงเทพฯ :ศูนย์ศึกษา ยุทธศาสตร์สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2549). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพฯ: วี.อินเตอร์ พริ้นท์
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. กรุงเทพฯ: วี. อินเตอร์พริ้นท์.
ธวัชชัย บัววัฒน์.(2564). ซัพพลายเชนเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน (Supply Chain for Circular Economy). ค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2564, จาก https://beginrabbit.com
รุ่งอรุณ กระแสร์สินธุ์, ระพีพรรณ พิริยะกุลและ นภาพร ขันธนภา. (2559). ผลการดำเนินงานของ ธุรกิจและสมรรถนะของผู้ประกอบการกับขอบข่ายการแข่งขันและศักยภาพองค์กร. วารสารเกษมบัณฑิต, 17(1), หน้า 1–21.
พัลลภ จันทร์กระจ่าง.(2563). การจัดการโลจิสติกส์ด้วยเศรษฐกิจแบบหมุนเวียน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(4), หน้า 54–63.
วรรธก หลิมสกุล และธัญภัส เมืองปัน. (2564). การประยุกต์ใช้บรรจุภัณฑ์หมุนเวียนใน ภาคอุตสาหกรรม ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ของบริษัทกรณีศึกษา. วารสารศิลปะศาสตร์และ อุตสาหกรรมบริการ, 4(1), หน้า 218–228.
สิทธิชัย ฝรั่งทอง. (2561). 3 ประสานเพื่อปรับตัวในงานโลจิสติกส์ขององค์กร. ค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2564, จาก https://www.busandtruckmedia.com/10541/
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2021). เป้าหมายที่ 13 ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วน เพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบที่เกิดขึ้น. ค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2564, จาก http://sdgs.nesdc.go.th
สำนักวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.(2564). สถิติข้อมูลผู้ประกอบการ SME ในแต่ละพื้นที่จังหวัด. ค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2564, จาก https://sme.go.th/th/page.php?modulekey=348
สำนักวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2564).นิยามใหม่ (กฎกระทรวง). กำหนดลักษณะของ วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2562. ค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2564, จาก https://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20200108090926.PDF
อุทัยวรรณ สายพัฒนะ และฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์.(2547). Collinearity. วารสารปาริชาติ, 17(1), หน้า 55–62.
Best, John W. (1977). Research in Education. (3rd ed). Englewod cliffs: N.J.: Prentice- Hall Inc.
De Angelis, R., Howard, M., &Miemczyk, J. (2018). Supply chain management and the circular economy: towards the circular supply chain. Production Planning & Control, 29(6), 425-437.
Farooque, M., Zhang, A., Thürer, M., Qu, T., &Huisingh, D. (2019). Circular supply chain management: A definition and structured literature review. Journal of Cleaner Production, 228, 882-900.
Geissdoerfer, M., Morioka, S. N., de Carvalho, M. M., & Evans, S. (2018). Business models and supply chains for the circular economy. Journal of cleaner production, 190, pp. 712-721.
GonzálezSánchez, R., SettembreBlundo, D., Ferrari, A. M., & GarcíaMuiña, F. E. (2020). Main dimensions in the building of the circular supply chain: A literature review. Sustainability, 12(6), 2459
Govindan, K., Soleimani, H., & Kannan, D. (2015). Reverse logistics and closed-loop supply chain: A comprehensive review to explore the future. European journal of operational research, 240(3), pp. 603-626.
Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (1992). Measures that drive performance. Harvard Business Review.
Kim and Rhee. (2012). An empirical study on the impact of critical success factors on the balanced scorecard performance in Korean green supply chain management enterprises. International Journal of Production Research, 50(9), pp. 2465-2483.
Mastos, T. D., Nizamis, A., Terzi, S., Gkortzis, D., Papadopoulos, A., Tsagkalidis, N., & Tzovaras, D. (2021). “Introducing an application of an industry 4.0 solution for circular supply chain management”. Journal of Cleaner Production, 300, 126886.
PhanlobChankachang. (2020). Logistics Management with Circular Economy. Journal of Humanities and Social Sciences Mahasarakham University, 39(4), pp. 54–63.
Seroka-Stolka, O., &Ociepa-Kubicka, A. (2019). Green logistics and circular economy. Transportation Research Procedia, 39, pp. 471-479.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.