ภาพยนตร์สารคดีมีความหลากหลายกว่าที่คิด
DOI:
https://doi.org/10.60101/jimc2023.703คำสำคัญ:
ภาพยนตร์สารคดี, การศึกษาภาพยนตร์สารคดี, การเล่าเรื่อง, การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สารคดีบทคัดย่อ
ภาพยนตร์สารคดีเป็นภาพยนตร์ที่ถือกาเนิดขึ้นมาตั้งแต่ยุคแรกของภาพยนตร์แต่อาจได้รับความสนใจค่อนข้างน้อย ในที่นี้จะสารวจถึงแนวคิดเบื้องต้น ที่เกี่ยวกับภาพยนตร์สารคดีตลอดจนข้อถกเถียงต่าง ๆ ของภาพยนตร์สารคดีในโลกตะวันตก เช่น ความจริง ศิลปะ การปะทะกับสังคม และนิเวศสื่อที่เปลี่ยนไป หลังจากนั้นจะเผยให้เห็นถึงการศึกษาภาพยนตร์สารคดีในประเทศไทย ตั้งแต่มิติประวัติศาสตร์ ศิลปะ สานักมาร์กซิสม์ และผู้ชม เพื่อนาไปสู่ข้อเสนอแนะต่อการศึกษาภาพยนตร์ สารคดีในประเทศไทย
References
กำจร หลุยยะพงศ์. (2550). การผลิตสารคดี ในเอกสารการสอนชุดวิชาการผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น หน่วย 8-15 (น. 14-1-14-48). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กำจร หลุยยะพงศ์. (2555). อำนาจและการต่อสู้เชิงอำนาจในภาพยนตร์เรื่อง The Good Woman of Bangkok. วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 5(2), 23-46.
กำจร หลุยยะพงศ์. (2556). ภาพยนตร์กับการประกอบสร้างสังคม. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กำจร หลุยยะพงศ์. (2562). ผู้รับสาร ในเอกสารการสอนชุดวิชาสื่อศึกษา หน่วย 1-8 (น. 6-1-6-59). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กำจร หลุยยะพงศ์. (2565). ก้าวใหม่การสื่อสารกับชุมชนศึกษา. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จำเริญลักษณ์ ธนะวังน้อย. (2544). ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ไทยตั้งแต่แรกจนสิ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ควันธรรม นนทพุทธและพิสณฑ์ สุวรรณภักดี. (2564). กระบวนการเสียดสีในภาพยนตร์สารคดีเทียม. การประชุมสวนสุนันทาวิชาการครั้งที่ 9 ปี 2564 (น. 587-608). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา http://proceeding.ssru.ac.th/index.php/IRD-Conference2021/article/view/276/227
ชญานุช วีรสาร. (2560). การผลิตภาพยนตร์สารคดีด้วยการเล่าเรื่องด้วยภาพ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 37(2), 19-30.
ธนพล น้อยชูชื่นและปัทมวดี จารุวร. (2555). ลักษณะของภาพยนตร์สารคดีที่แสดงอัตวิสัยของไมเคิล มัวร์. วารสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 30(4), 102-119.
บรรจง โกศัลวัฒน์. (2535). ภาพยนตร์สารคดี (เอกสารไม่ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พุทธพงษ์ เจียมรัตตัญญู. (2563, 1 พฤษภาคม). จอน อึ๊งภากรณ์กับเบื้องหลังการถ่ายหนังบันทึกการต่อสู้กรรมกรหญิงโรงงานฮาร่า. หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน). https://www.fapot.or.th/main/information/ article/view/266
ภัทรทิวา บุษษะและกฤษดา เกิดดี. (2563). การเล่าเรื่องในภาพยนตร์ที่กำกับโดย นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์. วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์, 24(2), 132-144.
ภาณุ อารี. (2564). หน่วยที่ 13 การผลิตภาพยนตร์สารคดี ในเอกสารการสอนชุดวิชาการผลิตภาพยนตร์ขั้นสูง หน่วยที่ 8-15 (น. 13-1-13-58). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปัทมา สุวรรณภักดี. (2555a). องค์ประกอบในการเล่าเรื่องของภาพยนตร์สารคดี. มิสเตอร์ก๊อปปี้.
ปัทมา สุวรรณภักดี. (2555b). รายงานวิจัยพฤติกรรมการเปิดรับและความคาดหวังของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อภาพยนตร์สารคดี. คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
รณฤทธิ์ มณีพันธุ์. (2565). การสวมบทบาทจำลองความทรงจำบาดแผลเหตุการณ์ไวท์ เทอร์เรอร์ ในสื่อวิดีโอเกมสยองขวัญดีเทนชั่น (Detention). วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 15(3), 148-184.
วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง. (2562). วิชาสารคดี. วิริยะธุรกิจ.
ศวิตา ศีลตระกูล. (2563). การสร้างสรรค์ภาพยนตร์สารคดีสั้นที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้มีภาวะดาวน์ซินโดรม. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]. http://ir-ithesis.swu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1369/1/gs612130031.pdf
ศุภลักษณ์ อภัยใจ. (2555). ภาพยนตร์สารคดีตุงล้านนากับวิถีชีวิตคนไทยล้านนา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่]. http://cmruir.cmru.ac.th/handle/123456789/2080
อรรณนพ ชินตะวัน. (2553). สุนทรียภาพในภาพยนตร์ญี่ปุ่นร่วมสมัย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/33038/1/ annope_ch.pdf
อลงกรณ์ ปริวุฒิพงศ์และกำจร หลุยยะพงศ์. (2564). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการจ้างที่ปรึกษาจัดทำฐานข้อมูลและพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาภาพยนตร์. ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อภินันท์ ธรรมเสนา. (2553). การประกอบสร้างอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของกลุ่มคนยองในจังหวัดลำพูน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/TU.the.2010.617
อุรุพงศ์ รักษาสัตย์. (2559). การสร้างภาพยนตร์สารคดีเรื่องเพลงของข้าว. วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 9(3), 7-44.
อุรุพงศ์ รักษาสัตย์. (2563). ความจริงแท้ ความจริงลวง และ The Kuleshov Effect ในภาพยนตร์สารคดีเรื่องบูชา. วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 13(2), 166-197.
อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2562). หน่วยที่ 4 การผลิตสื่อ ในเอกสารการสอนชุดวิชาสื่อศึกษา หน่วยที่ 1-8 (น. 4-1-4-48). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Benyahia, S. C. (2007). Teaching film and TV documentary. British Film Institute.
Less-Wright, P. (2010). The documentary handbook. Routledge.
Marcus, D. (2016). Documentary and video activism. In D. Marcus, and S. Kara (Eds.), Contemporary documentary (pp. 187-203). Routledge.
Marcus, D., & Kara, S. (2016). Contemporary documentary. Routledge.
Nash, K., Hight, C., & Summerhayes, C. (2014). New documentary ecologies. Palgrave Macmillan.
Nowell-Smith, G. (2017). The History of cinema. Oxford University Press.
Pramaggiore, M., & Wallis, T. (2008). Film a critical introduction. Laurence King.